Hot Issues

Prachak Kongkeerati
ประจักษ์ ก้องกีรติเสนอในเวทีเสวนาเรื่องประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง ทางออกสู่ประชาธิปไตยยืนยันว่า พรรคอันดับหนึ่งต้องได้จัดตั้งรัฐบาลก่อนเป็นธรรมเนียมและมารยาททางการเมือง พร้อมทั้งเรียกร้องให้ส.ว.ออกเสียงเลือกนายกรัฐมนตรีตามเสียงส.ส.
ประชาชนที่พบเห็นการทุจริตเลือกตั้งต่างก็ตกอยู่ในภาวะความหวาดกลัว หากนำข้อเท็จจริงที่รับรู้รับทราบรายงานต่อกกต. หรือต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ไม่อาจมั่นใจได้ว่าจะปลอดภัยหรือไม่ การ "จับโกง" จึงไม่ค่อยได้ผล ลองดูวิธีการแก้ไขปัญหาของกกต.ผ่านระเบียบคุ้มครองพยานคดีเลือกตั้ง
สมชัย ศรีสุทธิยากรจะเข้าพบกกต.เพื่อขอคำชี้แจงกรณียกคำร้องเรื่องพรรครวมไทยสร้างชาติอาจกระทำเข้าข่ายผิดพ.ร.ป.ส.ส. ในคราวประชุมเปิดตัวพล.อ.ประยุทธ์ เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2566
เลขาฯ กกต.ย้ำการเลือกตั้ง 2566 ยังมีการรายงานผลอย่างไม่เป็นทางการผ่าน ECT Report ซึ่งกำลังอยู่ในขั้นพัฒนา ยังบอกไม่ได้ว่า จะได้รู้ผลในเวลาใด แต่จะเร็วที่สุด
ตลอดสมัยสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 หรือระหว่างปี 2562-2566 มีส.ส.ย้ายพรรคกันอย่างต่อเนื่อง ภาพรวมการย้ายพรรคจนถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 มีอย่างน้อย 138 คน
Dismissal of IO case
ศาลแพ่งยกฟ้องคดีนักสิทธิฟ้องสำนักนายกฯเรียกค่าเสียหายกรณีถูกโจมตีด้วยปฏิบัติการจิตวิทยา ศาลระบุโจทก์พิสูจน์ไม่ได้ว่าเว็บไซต์ทที่ทำไอโอเชื่อมโยงกับหน่วยงานรัฐที่ถูกฟ้องอย่างไร
ECT Meeting
ศูนย์นิติศาสตร์ มธ. พร้อมด้วย iLaw และ We Watch เข้าพูดคุยกับกกต. เพื่อหารือแนวทางปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในการเลือกตั้งที่จะถึง และหาทางทำงานร่วมกันเพื่อให้การเลือกตั้งเกิดขึ้นโดยบริสุทธิ์โปร่งใสที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
การเลือกตั้งปี 2566 มีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เทียบเคียงกับการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาแล้วมีอย่างน้อยหกพรรคได้รับอานิสงส์จากการแบ่งเขตใหม่ครั้งนี้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาภูมิทัศน์ทางการเมืองในปี 2566 พบว่า หลายพื้นที่ยังคงความได้เปรียบ แต่จำนวนไม่น้อยเสียฐานที่มั่นทางการเมืองไป
The use of technology in election
แม้การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเลือกตั้งจะดูเป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าตื่นเต้น แต่การจะนำเทคโนโลยีใดมาใช้จะต้องผ่านการคิดที่ถี่ถ้วนเสียก่อนว่าเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้จะรับประกันการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรมและประชาชนมีส่วนร่วมได้อย่างแท้จริงหรือไม่
จากกรณีที่อดีตกกต.ตั้งคำถามถึงการแบ่งเขตเลือกตั้งจากการคำนวณราษฎรรวมบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทยด้วยเป็นค่าฐานในการหาค่าเฉลี่ยจำนวนราษฎรต่อส.ส.หนึ่งคน กกต.ชี้แจงว่า นิยามจำนวนราษฎรถูกต้องโดยยกความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 1) กรณีอำเภอแม่สอด จังหวัดตากประกอบ