Articles

marriage equality
ปลายปี 2566 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการางกฎหมายสมรสเท่าเทียม เส้นทางการผลักดันแก้ไขกฎหมายแพ่งเพื่อสมรสเท่าเทียมไม่ได้เริ่มต้นในปี 2566 แต่เคยเกิดขึ้นแล้วก่อนหน้านั้นจากกระบวนการแก้ไขกฎหมายโดยสภาและการยื่นเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญโดยภาคประชาชน
protect monarchy senate committee's report
กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
#ConForAll going to meet with Prime Minister
12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
กระบวนการได้ สว. จะมาจากการเลือกกันเองของผู้สมัคร แต่ก็มีกรรมการในการคอยดูแลและควบคุมการเลือก สว. ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 และระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 ได้กำหนดที่มาและบทบาทของผู้ดูแลการเลือก สว. ไว้ดัง
What to Vote
ภายใต้คำถามประชามติ ให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยไม่แก้ไขหมวด1 และหมวด 2 mujอาจจะนำไปสู่ปัญหาได้มาก จึงชวนประชาชนช่วยกันคิดว่า หากเกิดการทำประชามติขึ้นด้วยคำถามนี้ ประชาชนมีทางเลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ได้อย่างไรบ้าง แต่ละทางเลือกจะส่งผลอย่างไรต่อไป
iLaw's suggestion on referendum
บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
Study Committee on Referendum
คณะกรรมการศึกษาแนวทางการทำประชามติใช้เวลาทำงานถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2566 หรือ 2 เดือน 23 วัน จึงมีการแถลงสรุปผล แต่ดูเหมือนว่าไม่ได้ทำให้กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญชัดเจนขึ้น มากไปกว่านั้น เวลาที่เสียไปจากการศึกษายิ่งทำให้การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทอดเวลาออกไปอีก
How the foreign governments lost their referendum.
ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
Governing tradition
รัฐธรรมนูญตั้งแต่ฉบับแรกจนถึงฉบับปี 2560 พบว่า มีหลายมาตราที่เปลี่ยนแปลงมาตลอด โดยมาตราที่จะกล่าวถึงคือมาตรา 5 ของรัฐธรรมนูญ 2560 ซึ่งเป็นมาตราที่คนซึ่งติดตามการเมืองได้ไม่นานอาจจะยังไม่ทราบความสำคัญมากนัก แต่ในประวัติศาสตร์การเมืองมีการพูดถึงมาตราดังกล่าวเพื่อแก้ไขวิกฤติความขัดแย้งทางการเมืองอยู่หลายครั้ง
ไอลอว์ได้ไปจัดกิจกรรมโพลคำถามประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ในสถานที่ต่าง ๆ ว่าหากถามคำถามแบบหนึ่งประชาชนจะเห็นอย่างไร และถ้าคำถามเปลี่ยน คำตอบจะเปลี่ยนด้วยหรือไม่ เพราะคำถามประชามติในแต่ละแบบให้ผลในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ต่างกัน