Highlight >
marriage equality bill
21 ธ.ค. 66
21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้งสี่ฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 369 เสียง ไม่เห็นด้วย 10 เสียง งดออกเสียง 0 เสียง และไม่ประสงค์ลงคะแนน 1 เสียง
protect monarchy senate committee's report
14 ม.ค. 67
กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
#ConForAll going to meet with Prime Minister
14 ม.ค. 67
12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
9 ม.ค. 67
กระบวนการได้ สว. จะมาจากการเลือกกันเองของผู้สมัคร แต่ก็มีกรรมการในการคอยดูแลและควบคุมการเลือก สว. ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 และระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 ได้กำหนดที่มาและบทบาทของผู้ดูแลการเลือก สว. ไว้ดัง
2024 wish list
3 ม.ค. 67
หลายประเด็นทางการเมืองที่มีบทสนทนาหรือมีความเคลื่อนไหวในปี 2566 แล้วยังไม่ได้สำเร็จลุล่วง ไม่ว่าจะเป็นประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ การนิรโทษกรรมประชาชน การแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพื่อสมรสเท่าเทียม ขณะเดียวกันปี 2567 ก็จะมีความเปลี่ยนแปลงหนึ่งที่น่าจับตา คือ สว. ชุดใหม่
What to Vote
3 ม.ค. 67
ภายใต้คำถามประชามติ ให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยไม่แก้ไขหมวด1 และหมวด 2 mujอาจจะนำไปสู่ปัญหาได้มาก จึงชวนประชาชนช่วยกันคิดว่า หากเกิดการทำประชามติขึ้นด้วยคำถามนี้ ประชาชนมีทางเลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ได้อย่างไรบ้าง แต่ละทางเลือกจะส่งผลอย่างไรต่อไป
iLaw's suggestion on referendum
27 ธ.ค. 66
บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ