กิจกรรมการเสวนาวิชาการ
เรื่อง “เจาะลึกเหตุการณ์ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมะไดอิชิ”
ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค
วันพุธที่ 13 กรกฎาคม 2554
08.30 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 พิธีเปิด โดยเลขาธิการสานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
พิธีกร : ดร. ยุทธนา ตุ้มน้อย, นางสาวนิราวรรณ ปวีณะโยธิน
09.15–10.45 เสวนาเชิงวิศวกรรมนิวเคลียร์ เรื่อง “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปลอดภัยจริงหรือ?”
การออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล และ ดร. ไชยยศ สุนทราภา วิศวกรนิวเคลียร์ สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์(ปส.)
ระบบความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ดร.พีรวุฒิ บุญสุวรรณ วิศวกรนิวเคลียร์ สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ (ปส.)
10.45- 11.00 พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 - 12.00 สรุปสถานการณ์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นิวเคลียร์ฟูกุชิมะ ไดอิชิ
นายลภชัย ศิริภิรมย์ รักษาการผู้อำนวยการ สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ (ปส.)
12.00- 13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30 - 16.30 เสวนาเจาะลึกเหตุการณ์ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมะไดอิชิ
ดำเนินการโดย นายกิตติ สิงหาปัด
(1) ความเสียหายและปัญหาที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างของเครื่องปฏิกรณ์และระบบหล่อเย็น
ดร.วิสันต์ เหลืองดิลก Senior engineer, Fauske & Associates, USA
(2) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอาหาร
นางสุชิน อุดมสมพร นักฟิสิกส์รังสี สำนักสนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ (ปส.)
(3) การจัดการกากกัมมันตรังสีและการรื้อถอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
รศ. ดร.สุพิชชา จันทรโยธา ภาควิชานิวเคลียร์เทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หัวข้อและรายละเอียด (ร่าง) ที่จะบรรยาย / อภิปราย
1. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ปลอดภัยจริงหรือ? (1 ชั่วโมง 30 นาที)
1.1. การออกแบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล, ดร. ไชยยศ สุนทราภา): พื้นฐานของปฏิกิริยานิวเคลียร์และ ลักษณะการทำงานพื้นฐานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
1.2. ระบบความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ดร.พีรวุฒิ บุญสุวรรณ): Basic safety features in BWR
2. สรุปสถานการณ์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมะ ไดอิชิ: (1 ชั่วโมง) (นายลภชัย ศิริภิรมย์) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
- ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่สถานีไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมะ ไดอิชิ
- สรุปความเสียหายที่เกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้าหน่วยต่างๆ (รวมถึงบ่อเก็บแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว)
- สรุปผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม (brief)
- การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์
- การดำเนินการแก้ไขของ TEPCO อุบัติเหตุครั้งนี้
- การดาเนินการเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประเทศไทย (brief)
3. เสวนาเจาะลึกเหตุการณ์ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมะไดอิชิ (หัวข้อละ 20 นาที)
3.1. ความเสียหายและปัญหาที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างของเครื่องปฏิกรณ์และระบบหล่อเย็น (ดร.วิสันต์ เหลืองดิลก):
- Tsunami-induced station blackout at Fukushima-Daiichi
- Reactor meltdown due to loss of coolant and accident management
- Hydrogen generation and accumulation, and fission products released during fuel meltdown in core and in spent fuel pool
- Hydrogen explosions in reactor building and its safety implication
- Radiation level in reactor building and surrounding areas
3.2. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอาหาร (นางสุชิน อุดมสมพร): ทางผ่าน (pathway) ของรังสีสู่สิ่งแวดล้อมและอาหาร ทั้งทางอากาศ น้ำ และการสะสมในดิน กัมมันตรังสีในอาหารทะเลและผลผลิตทางการเกษตร การเปรียบเทียบผลกระทบที่เกิดขึ้นกับอุบัติเหตุนิวเคลียร์ที่ Chernobyl
3.3. การจัดการกากกัมมันตรังสีและการรื้อถอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (รศ.ดร. สุพิชชา จันทรโยธา): การดำเนินการของ TEPCO ในการจัดการวัสดุที่เปรอะเปื้อนกัมมันตรังสี และกากกัมมันตรังสี รวมถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการจัดการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ Fukushima Daiichi ในระยะยาว
รายละเอียดผู้บรรยาย / สนทนา
- ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล, ดร.ไชยยศ สุนทราภา, ดร.พีรวุฒิ บุญสุวรรณ: วิศวกรนิวเคลียร์ สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- นายลภชัย ศิริภิรมย์: รักษาการผู้อำนวยการ สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- ดร.วิสันต์ เหลืองดิลก: Senior engineer, Fauske & Associates, USA (นักวิชาชีพไทย สมาคม ATPAC มาตามโครงการ Technical knowledge transfer on licensing and safety regulation to OAP)
- นางสุชิน อุดมสมพร: นักฟิสิกส์รังสี สำนักสนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัยจากพลังงานปรมาณู สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- รศ.ดร.สุพิชชา จันทรโยธา: อาจารย์ภาควิชานิวเคลียร์เทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย