บทสรุปการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนไทยในเวทีสหประชาชาติ : ประสบการณ์จากเจนีวา
วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม 2554
ห้อง Dipak C. Jain อาคารศศนิเวศ
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ขอเชิญทุกท่านร่วมเข้าฟังการแถลงข่าวบทสรุปของการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review- UPR) ของประเทศไทย ซึ่งกระบวนการนี้เกิดขึ้นในวันที่ 5 ตุลาคม ที่ผ่านมา
โดยในงานจะมีทั้งการฉายคลิปตัดตอนส่วนสำคัญ การสรุปข้อเสนอแนะที่น่าสนใจจากนานาชาติ และ การแลกเปลี่ยนสิ่งที่เกิดขึ้นในเจนีวา
13.00-13.10 แนะนำกระบวนการ UPR แบบคร่าวๆ
13.10-13.25 ฉายคลิปตัดตอนส่วนสำคัญและการสรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่มีต่อประเทศไทย โดย คุณอกนิษฐ์ หอรัตนคุณ
13.25-14.15 สรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในเจนีวา โดย
-คุณอังคณา นีละไพจิตร ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ
-คุณวีรวิทย์ เธียรชัยนันท์ ผู้อำนวยการองค์กรเพื่อผู้ลี้ภัยไทย
-คุณขวัญระวี วังอุดม ศูนย์ข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบเหตุสลายชุมนุมเม.ย.-พ.ค.53
-คุณชลิดา ทาเจริญศักดิ์ ผู้อำนวยการมูลนิธิศักยภาพชุมชน
-ตัวแทนจากกระทรวงต่างประเทศ และคณะผู้แทนประเทศไทย*(อยู่ระหว่างติดต่อ)
14.15-15.00 ข้อคิดเห็นและคำถามจากผู้เข้าร่วม
องค์กรร่วมจัด
1.มูลนิธิศักยภาพชุมชน People's Empowerment Foundation
2.เครือข่ายพลเมืองเน็ต Thai Netizen Network
3.แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย Amnesty International Thailand
4.คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล International Commission of Jurists
5.มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Justice for Peace Foundation
6.สหพันธ์สากลเพื่อสิทธิมนุษยชน International Federation for Human Rights (FIDH)
7.FORUM-ASIA
---------------------------------------------------------------------
กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน หรือ Universal Periodic Review เป็นกระบวนการที่เปิดให้มีการ
ทบทวน ตั้งคาถาม และเสนอแนะในประเด็นสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งประเทศไทยได้เข้าสู่
กระบวนการนี้เป็นครั้งแรกในวันที่ 5 ตุลาคม ที่ผ่านมา ในการทบทวนครั้งนี้ประเทศไทยได้รับคาแนะนาและคาถามจากประเทศ
สมาชิกสหประชาชาติทั้งสิ้น 50 ประเทศ เช่น ฝรั่งเศส อังกฤษ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน อินเดีย ฯลฯ โดยประเด็นหลักที่ประเทศ
ไทยได้รับการแนะนาหรือตั้งคาถามจากนานาชาติ จะเน้นไปที่ประเด็นเรื่องสิทธิแรงงานข้ามชาติ เรื่องความแตกแยกทางกา
เมืองและการสร้างความปรองดอง รวมถึงประเด็นเรื่องเสรีภาพในการแสดงออก
ข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ คุณศิรดา 089-696-6286 หรือคุณพัชรี 081-589-8978