เวทีสาธารณะ เรื่อง การเข้าถึงความยุติธรรมและการเยียวยาเหยื่อซ้อมทรมาน

 

กำหนดการ
เวทีสาธารณะ เรื่อง การเข้าถึงความยุติธรรมและการเยียวยาเหยื่อซ้อมทรมาน
วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๕ เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๓๐ น.
ณ ห้องสุพรรณนิการ์ ชั้น ๓ โรงแรมทีเค พาเลซ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
โดย คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
 
๘.๓๐ – ๙.๐๐ น. ลงทะเบียน
๙.๐๐ – ๙.๑๕ น. กล่าวเปิด และแนะน าวัตถุประสงค์ของการจัดเวทีสาธารณะ
                            โดยนายสมชาย หอมลออ กรรมการปฏิรูปกฎหมาย และประธานกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านกระบวนการยุติธรรม
๙.๑๕ – ๑๐.๐๐ น. ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “การด าเนินคดีอาญาสมัยใหม่กับสิทธิและเสรีภาพของผู้ถูกกล่าวหา”
                             โดยศาสตราจารย์ ดร. คณิต ณ นคร ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
 
๑๐.๐๐ – ๑๐.๑๕ น. พักอาหารว่าง
 
๑๐.๑๕ – ๑๒.๑๕ น. อภิปรายร่วม “สิทธิเหยื่อซ้อมทรมาน การเข้าถึงความยุติธรรม และการเยียวยา”
                             นายรัษฎา มนูรัษฎา  ทนายความ
                             นางสาวอัญชนา หีมมิน๊ะ*  ประธานกลุ่มด้วยใจ
                             นางสาวนริศราวรรณ แก้วนพรัตน์*  ญาติของพลทหารวิเชียร เผือกสม เหยื่อการซ้อมทรมาน
                             นางสาวพูนสุข พูนสุขเจริญ  เจ้าหน้าที่รณรงค์กฎหมายป้องกันการทรมาน มูลนิธิผสานวัฒนธรรม
                             ดร. แพทย์หญิง ปานใจ โวหารดีสถาบันนิติวิทยาศาสตร์กระทรวงยุติธรรม
                             นายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
 
                             ดำเนินรำยกำรโดย นางสาวพรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ผู้อ านวยการมูลนิธิผสานวัฒนธรรม
 
๑๒.๑๕ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน
 
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. เสวนาโต๊ะกลม “ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขเพื่อการเข้าถึงความยุติธรรมและการเยียวยาเหยื่อซ้อมทรมาน” ประเด็นหลักของการเสวนา ดังนี้
                             - กลไกของรัฐในการร้องทุกข์ร้องเรียน
                             - การนำตัวผู้กระท าความผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ชั้นสอบสวนถึงชั้นศาล
                             - การเยียวยาความเสียหายแก่ร่างกายและจิตใจของเหยื่อและครอบครัว
                             - การกำหนดมาตรการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำสอง
 
                             ดำเนินรายการโดย นายสมชาย หอมลออ
 
๑๕.๐๐ – ๑๕.๓๐ น สรุปประเด็นอภิปรายและข้อเสนอแนะ 
                             โดย นายสมชาย หอมลออ กรรมการปฏิรูปกฎหมาย และประธานกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านกระบวนการยุติธรรม
                             
*กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมประเด็นการเสวนาโต๊ะกลม 
 
 
 
ประเด็นการเสวนาโต๊ะกลม
เรื่อง “ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขเพื่อการเข้าถึงความยุติธรรมและการเยียวยาเหยื่อซ้อมทรมาน”
ระหว่าง ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
 
๑. กลไกของรัฐในการร้องทุกข์ร้องเรียน
- สภาพปัญหาในการร้องทุกข์ร้องเรียนกับหน่วยงานต่างๆ 
- สภาพปัญหาในการได้รับคำปรึกษาหรือความช่วยเหลือทางกฎหมายจากหน่วยงานต่างๆ
- ข้อจำกัดในการใช้สิทธิของเหยื่อและครอบครัวในการร้องทุกข์และที่จะได้รับรู้ความจริง ภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆ 
ค่าใช้จ่าย และปัญหาอุปสรรคอื่นๆ
 
๒. การน าตัวผู้กระท าความผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ชั้นสอบสวนถึงชั้นศาล
- สภาพปัญหาในการดำเนินคดีอาญาและข้อจ ากัดในการใช้สิทธิของเหยื่อและครอบครัวในการดำเนินคดีอาญา 
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการได้รับค าปรึกษาหรือความช่วยเหลือทางกฎหมาย
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการแสวงหาหรือรวบรวมพยานหลักฐาน สิทธิของเหยื่อและครอบครัวในการติดตาม
ความคืบหน้าในการสอบสวนคดี และในชั้นด าเนินคดี
- สภาพปัญหาเกี่ยวกับการประสานงาน การพักการสืบสวนสอบสวนกรณีคดีอยู่ในเขตอ านาจของคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
- การถูกดำเนินคดีกลับฐานแจ้งความเท็จ 
 
๓. การเยียวยาความเสียหายแก่ร่างกายและจิตใจของเหยื่อและครอบครัว
- สภาพปัญหาเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือและเยียวยาเบื้องต้นจากหน่วยงานปกครองและการเจรจาไกล่เกลี่ย
เบื้องต้น
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการใช้สิทธิของเหยื่อและครอบครัวในการด าเนินคดีแพ่งเพื่อเยียวยาความเสียหาย
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการได้รับค าปรึกษาหรือความช่วยเหลือทางกฎหมาย
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการแสวงหาหรือรวบรวมพยานหลักฐาน สิทธิของเหยื่อและครอบครัวที่จะได้รับรู้
ความจริง การไกล่เกลี่ยชั้นศาล
- สภาพปัญหาและข้อจำกัดในการเยียวยาในระบบกฎหมายปัจจุบัน
 
๔. การกำหนดมาตรการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำสอง
- ข้อเสนอต่อมาตรการเพื่อป้องกันการทรมานที่มีประสิทธิภาพ
- ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเพื่ออนุวัตรการตามอนุสัญญาต่อต้านการ
ทรมาน และการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and 
Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment: CAT)