เชิญชวนทุกท่านร่วมสร้างสรรค์กฎหมาย
เพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของทุกคน
iLaw.or.th
register
log in
ชื่อผู้ใช้:
*
รหัสผ่าน:
*
ลืมรหัสผ่าน
หรือเข้าสู่ระบบผ่าน
ค้นหา:
เข้าสู่ระบบ
block-mainmenu-2019
Home
Hot Issues
Articles
Laws Monitoring
Law Petitions
Participate
Idea
Poll
Activities
Roundup
Multimedia
Home
» สังคมไทยควรมีเงินบำนาญให้แก่ผู้สูงอายุ ในลักษณะที่ทั่วถึง เท่าเทียม ทุกคน เป็นประจำทุกเดือน ?
สังคมไทยควรมีเงินบำนาญให้แก่ผู้สูงอายุ ในลักษณะที่ทั่วถึง เท่าเทียม ทุกคน เป็นประจำทุกเดือน ?
“หลักประกันชราภาพ” : บำนาญพื้นฐาน ไม่บังคับออม ไม่บังคับจน
เมื่อ 31 ก.ค. 2552
ออกแบบ
1
สังคมไทยควรมีเงินบำนาญให้แก่ผู้สูงอายุ ในลักษณะที่ทั่วถึง เท่าเทียม ทุกคน เป็นประจำทุกเดือน ?
“หลักประกันชราภาพ” : บำนาญพื้นฐาน ไม่บังคับออม ไม่บังคับจน
สังคมไทยควรมีเงินบำนาญให้แก่ผู้สูงอายุ ในลักษณะที่ทั่วถึง เท่าเทียม ทุกคน เป็นประจำทุกเดือน ?
การคำนวณเงินบำนาญ ใช้เส้นความยากจนเป็นตัวกำหนด และปรับเงินบำนาญตามอัตราเงินเฟ้อ ?
ตั้งคณะกรรมการหลักประกันชราภาพแห่งชาติ ที่มีองค์ประกอบจากหน่วยงานรัฐส่วนกลาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนผู้สูงอายุและองค์กรประชาสังคม และนักวิชาการ?
ที่มาของงบประมาณเพื่อจัดบำนาญประชาชนควรมาจากภาษี โดยควรจัดสรรจากภาษีส่วนใด อย่างไร (ภาษีรายได้? ภาษีทรัพย์สิน? ภาษีมูลค่าเพิ่ม? ภาษีที่ดิน? ภาษีมรดก? และภาษีที่จัดเก็บโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น?) หรือมาจากแหล่งอื่นใด?
ความรับผิดชอบในการดำเนินการ ให้เป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ?
ประเด็นอื่นๆ
Tags:
คนชรา
ความเท่าเทียม
บำนาญ
ผู้สูงอายุ
รัฐสวัสดิการ
Comments
ผมคิดว่าเป็นเรื่องที่ดีมากและเห็นด้วยอย่างยิ่งครับที่จะมีระบบสวัสดิการบำนาญคนชราที่เท่าเทียมทั่วถึงไม่แบ่งแยกคนรวยหรือจน มีเกณฑ์มาตรฐานที่เป็นระบบ ป้องกันปัญหาการแย่งชิงกันของนักการเมืองและชุมชน หรือคนใกล้ชิดของใคร และ ผมคิดว่าชุมชนส่วนใหญ่น่าจะสนับสนุนและพร้อมเข้าชื่อเสนอกฏหมาย เพราะเป็นเรื่องที่ทุกคนจะต้องได้รับประโยชน์ เมื่อยามชรา...หากจะมีปัญหาก็คงจะเป็นแหล่งที่มาของงบประมาณที่จะนำมาจัดสวัสดิการฯ...หากสามารถเก็บภาษีการถือครองที่ดินมาใช้ตรงนี้ด้วยก็คงจะมีงบประมาณเพิ่มขึ้น(ไม่รู้ว่ากฏหมายภาษีที่ดินถึงไหนแล้ว) ควรจะมีสักมาตราที่ระบุไว้ในกฏหมายเพื่อให้นำเงินภาษีที่ดินจำนวน...%มาใช้จัดสวัสดิการฯด้วยนะครับ
by
MON KK
| Wed, 2009-08-05 16:30
View the discussion thread.
หมวดหมู่
กระบวนการยุติธรรม
การเมือง
การศึกษา
คุณภาพชีวิต
เทคโนโลยี
ผู้หญิง
เยาวชน
แรงงาน
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
สิทธิมนุษยชน
สื่อ
อื่น ๆ
ดาวน์โหลด
แบนเนอร์
คลิกที่นี่
Connect
iLaw Social Media
Facebook iLaw
Twitter iLaw
Instagram iLawClub
Google+ iLaw
iLaw TH
iLaw Freedom Social Media
Facebook iLawFX
Twitter iLawFX
Flickr iLawFX Freedom
Comments