ประชุมวิชาการระดับชาติ จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 1 “จีนศึกษาในประเทศไทย: อุปสรรคในอดีต ทิศทางในอนาคต”

ขอเชิญร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ
จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 1

---
พบกับการอภิปราย
“จีนศึกษาในประเทศไทย: อุปสรรคในอดีต ทิศทางในอนาคต”

มประชุมวิชาการระดับชาติ
จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 1
---
พบกับการอภิปราย
“จีนศึกษาในประเทศไทย: อุปสรรคในอดีต ทิศทางในอนาคต”
รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์
รองอธิการบดีฝ่ายบริหารศูนย์ลำปางและศูนย์พัทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงต์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดำเนินรายการโดย
รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล ชาติประเสริฐ
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
---
การนำเสนอผลงานวิชาการเกี่ยวกับจีนศึกษา
ด้าน : ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วรรณคดี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สังคมวิทยา
ปรัชญา ศาสนา คติชนวิทยา จีนสยามศึกษา
---
วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 เวลา 8.30-16.30 น.
ณ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศูนย์รังสิต
---
จัดโดย ศูนย์จีนศึกษา และศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษาบรมราชกุมารี สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร่วมกับ โครงการปริญญาโทวัฒนธรรมจีนศึกษา ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
---
ติดต่อสอบถาม โทร.0-2564-5000-3 ต่อ 329 หรือ E-mail : [email protected]
กรอกใบตอบรับเพื่อลงทะเบียนออนไลน์ได้ที่
https://docs.google.com/…/1jeCgb8w_oHRbSivDNy-KzPZ…/viewform
------


ห้อง ก.


ความสัมพันธ์จีน-รัสเซียต่อการเมืองโลกหลังวิกฤตการณ์ไครเมีย
อดุลย์ กำไลทอง

วิถีชีวิตของชาวไทยเชื้อสายจีนในชุมชนวัดเกาะ อ.เมืองจ.เพชรบุรี
ณัฐวุฒิ สุวรรณช่าง

นโยบายการจัดการมรดกวัฒนธรรมของรัฐจีน:กรณีศึกษามรดกโลกถ้ำผาสลักหลงเหมิน เมืองลั่วหยัง และพิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดีจินซา เมืองเฉิงตู
พจนก กาญจนจันทร และ ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข

“สืบสายเลือด สืบอุดมการณ์” ของเยาวชนไทยเชื้อสายยูนนานในภาคเหนือของไทย
พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการขายตัว: โสเภณีจีนในกรุงเทพฯ พ.ศ.2411-2503
วรธิภา สัตยานุศักดิ์กุล และวิภาวี สุวิมลวรรณ

พลวัตชนชั้นนำไทย ผลประโยชน์แห่งชาติและท่าทีต่อการเปิดสัมพันธภาพไทย-จีน
อาสา คำภา
----
ห้อง ข.


มโนทัศน์สตรีของหลู่ซวิ่น
ไพรินทร์ ศรีสินทร

อิทธิพลทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นที่มีต่อจีนในช่วงประวัติศาสตร์ยุคใกล้
เมธี เกียรติก้องขจร

พัฒนาการ “มนุษนิยม” ของแนวคิดสำนักขงจื๊อ
ญาณาธิป เตชะวิเศษ

แนวความคิดสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทย-จีน ผ่านงานประพันธ์ของซือหม่ากงในวรรณกรรมจีนในประเทศไทย
สุภัทรา โยธินศิริกุล

คัมภีร์มาธยมิกศาสตร์ฉบับแปลของกุมารชีวะ: ที่มาและความสำคัญ
พระมหาอานนท์ อานนฺโท

การหาความรู้จากสามก๊ก: หนังสือประเภทคู่มือ (How-to) และอุบายการเมือง
ยศไกร ส.ตันสกุล