1 ปี วิกฤติผู้อพยพชาวโรฮิงญา : การอพยพย้ายถิ่นอย่างไม่ปกติในอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน

วันที่ 20 มิถุนายน ของทุกปี เป็นวันผู้ลี้ภัยโลก ซึ่งในทุกๆ ประเทศจะมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อตระหนักถึงสิทธิของผู้ลี้ภัย โดยในปีนี้อนุกรรมการสิทธิพลเมือง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เครือข่ายสิทธิผู้ลี้ภัยและคนไร้รัฐ (CRSP) เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG) สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ฟอร์ติฟายไรท์ (Fortify Rights) อไซลัมแอสเซสประเทศไทย (Asylum Access Thailand) และมูลนิธิสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF) จึงได้จัดเวทีสัมนาวิชาการ " 1 ปี วิกฤติผู้อพยพชาวโรฮิงยา : การอพยพย้ายถิ่นอย่างไม่ปกติในอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน" 
 
 
 
สัมมนาวิชาการ
1 ปี วิกฤติผู้อพยพชาวโรฮิงญา :
การอพยพย้ายถิ่นอย่างไม่ปกติในอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน
 
วันที่ 8 มิถุนายน 2558 เวลา 13.00-17.00
 
ณ ห้องประชุมเบญจพร โรงแรมรอยัลเบญจา สุขุมวิท 5
 
 
กำหนดการ
 
13:00 น.  ลงทะเบียน
 
13:30 น.  กล่าวต้อนรับ
คุณปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล ผู้อำนวยการอไซลัมแอสเซสประเทศไทย / ผู้ประสานงานเครือข่ายสิทธิผู้ลี้ภัยและคนไร้รัฐ
 
คุณอังคณา นีละไพจิตร ประธานอนุกรรมการสิทธิพลเมือง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
 
14.00 น. ทัศนคติของประชาชนต่อผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา
คุณศิวงศ์ สุขทวี เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG)
 
 
14:15 น. เสวนา 1 ปี วิกฤติโรฮิงญา: การอพยพย้านองคถิ่นแบบไม่ปกติในทะเลเบงกอล
 
- นโยบายรัฐบาลไทย และความร่วมมือระดับภูมิภาค
ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
 
ทบทวนการดูแลผู้เสียหาย/การกักกันผู้หลบหนีเข้าเมืองอย่างไม่มีกำหนด
คุณพุทธณี กางกั้น ฟอร์ติไฟ ไรท์
 
- ภาพรวมกระบวนการยุติธรรม และการดำเนินคดี (ค้ามนุษย์ /เข้าเมืองผิดกม.)
ผู้แทนมูลนิธิสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา
 
ดำเนินรายการโดย คุณศิวงศ์ สุขทวี เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG)
 
15:30 น.   ถาม – ตอบ
 
15:50 น. ข้อเสนอแนะและทางออกต่อการอพยพย้ายถิ่นอย่างไม่ปกติในอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน
 
16.30 น. กล่าวสรุป โดย ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล