มหกรรม “ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤติที่ดินไทย”

 

 

 

 

กำหนดการ มหกรรม “ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤติที่ดินไทย”
วันที่ 17 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ณ หอประชุมเล็กมหาวิทยาลัยธรร
มศาสตร์ ท่าพระจันทร์
กรุณาลงทะเบียนเข้าร่วมงานที่ https://goo.gl/forms/GMCgj6fXjzbcNmP22

วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

เวลา 08.30 – 08.45 น. กล่าวต้อนรับ 
โดย ผศ.ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เวลา 08.45 – 09.00 น. กล่าวรายงานความเป็นมาของการจัดงานมหกรรม “ที่ดินคือชีวิต ฝ่าวิกฤติที่ดินไทย”
โดย นุชนาถ แท่นทอง ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม

เวลา 09.00 – 09.15 น. ประธานกล่าวเปิดงาน 
โดย อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ปัญญาชนสยาม 

เวลา 09.15 – 10.00 น. ปาฐกถา “44 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย กับวิกฤตการณ์ปัญหาที่ดินไทย”
โดย ศ.ดร.อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เวลา 10.00 – 10.20 น. วีดีทัศน์ เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหาที่ดิน 7 นาที
เกริ่นนำ “สถานการณ์ปัญหาที่ดินในประเทศไทย” 

โดย ประยงค์ ดอกลำใย ผู้อำนวยการมูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ
เวลา 10.20 – 12.00 น. เสวนา “สังคมไทยจะก้าวพ้นความเหลื่อมล้ำ สู่ความเป็นธรรมที่ในที่ดินอย่าง ยั่งยืนได้อย่างไร” 

โดย ผศ. ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ.สุนีย์ ไชยรส วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม ม.รังสิต 
รศ.ดร. ประภาส ปิ่นตบแต่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
หนูเดือน แก้วบัวขาว ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม


เวลา 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00 – 13.10 น. กล่าวสดุดีและไว้อาลัยผู้นำสหพันธ์ชาวนาชาวไร่ฯ และผู้นำชาวบ้านในยุคร่วมสมัยที่สูญเสียชีวิตจากการต่อสู้เรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย” 
โดย ดิเรก กองเงิน สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ 

เวลา 13.10 – 13.20 น. รับฟังบทเพลง “อาลัยพ่ออินถา” 
เวลา 13.20 – 14.20 น. การแสดงคอนเสิร์ตจากวงดนตรีคาราวาน 

เวลา 14.20 – 14.30 น. ผู้ดำเนินรายการชี้แจงรายละเอียดเนื้อหาห้องเรียนที่ดิน และการแบ่งกลุ่ม 
เวลา 14.30 – 14.50 น. เปิดการแสดงนิทรรศการ “ที่ดินคือชีวิต” 
โดย จำนงค์ จิตนิรัตน์ ที่ปรึกษาขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม

เวลา 15.00 - 17.30 น. แบ่งกลุ่มย่อยตามห้องเรียนต่างๆ

ห้องเรียนที่ 1 ที่ดินสาธารณะประโยชน์และข้อขัดแย้งเกี่ยวกับเอกสารสิทธิ์: ปัญหาและทางออก
ห้องสัมมนา ตึกคณะศิลปศาสตร์ 201 (80 คน)
 อธิบดีกรมที่ดิน*
 เนืองนิช ชิดนอก กรณีที่ดินสาธารณะประโยชน์บึงลำไผ่ กทม. 
 เหมราช ลบหนองบัว กรณีที่ดินสาธารณะประโยชน์ทุ่งซำเสี้ยว จังหวัดชัยภูมิ 
 ทัศนา นาเวศน์ กรณีการออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบ บ้านทับยาง จังหวัดพังงา
 ดิเรก กองเงิน กรณีที่ดินเอกชนชุมชนบ้านโป่ง จังหวัดเชียงใหม่
ดำเนินรายการ สุมิตรชัย หัตถสาร ผู้อำนวยการศูนย์พิทักษ์และฟื้นฟูสิทธิชุมชนท้องถิ่น


ห้องเรียนที่ 2 จากปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สู่โฉนดชุมชน และการจัดที่ดินแปลงรวม : ทำไมต้องเป็น 5+1 เท่านั้น ? 
ห้องประชุมคึกฤทธิ์ปราโมช (60 คน) ตึกเอนกประสงค์ ชั้น 9
 เลขาธิการสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.)*
 เฉลิมศรี ระดากูล ผอ.ภาคกรุงเทพปริมณฑลและผู้จัดการบ้านมั่นคง
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
 นิรันดร์ สมพงษ์ ประธานสหกรณ์ปฏิรูปที่ดินปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
 สุรพล สงฆ์รักษ์ สกต. พื้นที่คลองไทร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
 ดร.สกฤติ อิสริยานนท์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดำเนินรายการ ประยงค์ ดอกลำใย ผู้อำนวยการมูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ 


ห้องเรียนที่ 3 จากการทวงคืนผืนป่า สู่นโยบายจัดที่ดินแปลงรวม : สิทธิชุมชนจะได้รับการรับรองอย่างแท้จริงได้อย่างไร? 
ห้องประกอบ หุตะสิงห์ (180 คน) ตึกเอนกประสงค์ 1 ชั้น 3 
 อธิบดีกรมป่าไม้* 
 อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช* 
 กนกศักดิ์ ดวงแก้วเรือน ตำบลแม่ทา อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
 ปวรวิช คำหอม น้ำพางโมเดล ตำบลน้ำพาง อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
 สิทธิพล สอนใจ ห้วยน้ำหิน ตำบลสถาน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
 กันยา ปันกิตติ ผู้แทนชุมชนเทือกเขาบรรทัด จังหวัดตรัง
ดำเนินรายการ ดร. กฤษฎา บุญชัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ห้องเรียนที่ 4 ที่ดินคือชีวิต...สู่เขตคุ้มครองวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ 
ห้องวรรณไวทยากร (80 คน) ตึกอธิการบดี (ตึกโดม) ชั้น 2 
 อรวรรณ หาญทะเล ชาวเลทับตะวัน จังหวัดพังงา
 สมชาติ หละแหลม ผู้ประสานงานเครือข่ายชาติพันธุ์ จ.ลำปาง
 ดร. นฤมล อรุโณทัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย* 
 ดร.สมศักดิ์ สุขวงศ์ ที่ปรึกษาอาวุโส RECOFTC 
 พลเอกสุรินทร์ พิกุลทอง อดีตประธานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัย พื้นที่ทำกินฯชุมชนชาวเลและกะเหรี่ยง
 ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
 สมพร มูสิกะ สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์
ดำเนินรายงานโดย ปรีดา คงแป้น มูลนิธิชุมชนไท

 

ห้องเรียนที่ 5 เมืองจะเจริญไม่ได้ ถ้าปราศจากคนจน...แล้วคนจนเมืองอยู่ตรงไหน 
ห้องสัมมนาคณะศิลปศาสตร์ 305 (80 คน) 
 จุติอร รัตนอมรเวช ผู้อาศัยในที่ดินสาธารณะ กรุงเทพฯ
 ทองเชื้อ วรชุน ผู้อาศัยในที่ดินการรถไฟฯ กรุงเทพฯ 
 ทิพวัลย์ ปุลำพะ ผู้อาศัยในที่ดินเอกชน จังหวัดสมุทรปราการ 
 สุชิน เอี่ยมอินทร์ ผู้แทนคนไร้บ้าน กรุงเทพฯ 
 วิมล ถวิลพงษ์ ผู้แทนการขับเคลื่อนงานคุณภาพชีวิตคนจนเมือง
 ศรินพร พุ่มมณี บริษัทปั้นเมือง 
 ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 ผู้แทนสถาบันองค์กรพัฒนาชุมชน 
ดำเนินรายการโดย ชีวิน อริยะสุนทร ผู้จัดการโครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้นำและองค์กรเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานประชากรกลุ่มเฉพาะ


ห้องเรียนที่ 6 จากภัยพิบัติ...สู่การสูญเสียสิทธิในที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย
ห้องสัมมนาคณะศิลปศาสตร์ 202 (80 คน) 
 อารี คงกลัด ชุมชนโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร กรณีกัดเซาะชายฝั่ง
 วารินทร์ ดำรงค์พันธ์ ชุมชนหลังปั๊มเอสโซ่ เขตยานนาวา กรณีไฟไหม้
 ผู้แทนชุมชนบ่อเกลือ จังหวัดน่าน กรณีน้ำหลาก ดินถล่ม
 วิลาวัลย์ สุขพันธุ์ ชุมชนหาดบางสัก จังหวัดพังงา กรณีสึนามิ
 ศ. สุริชัย หวันแก้ว ผอ.ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย*
 อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย*

ดำเนินรายงาน ไมตรี จงไกรจักร ผู้จัดการมูลนิธิชุมชนไท

เวลา 17.30 - 21.00 น. งานแสดงวัฒนธรรมชุมชนและการแสดงของกลุ่มเพื่อนศิลปิน

 วงโฮป และครอบครัว
 วงสามัญชน


 

วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
 

เวลา 08.30 – 10. 30 น. เวทีเสวนา “นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กับผลกระทบต่อวิถีชุมชน การแย่งยึดที่ดิน”
หอประชุมศรีบูรพา (หอประชุมเล็ก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 ดร.สมนึก จึงมีวศิน นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม ภาคตะวันออก
 พรภินันท์ โชติวิริยะนนท์ เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ต.ท่าสายลวด จ.ตาก
 สิมมาลา หงษามนุษย์ เขตเศรษฐกิจพิเศษนครพนม ต.อาจสามารถ จ.นครพนม
 สรายุทธ สนรักษา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ต.เขาดิน จ.ฉะเชิงเทรา/นิคม
อุตสาหกรรมอมตะ 
 สายทอง เก่งกานา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ต.โยธะกา จ.ฉะเชิงเทรา
ดำเนินรายงาน จอมขวัญ หลาวเพ็ชร์

เวลา 10.30 – 12.00 น. เวทีเสวนา “โฉนดชุมชน ธนาคารที่ดิน ภาษีที่ดินอัตราก้าวหน้า : ทำอย่างไรจะไปให้ถึงเป้าหมาย”

 ผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน 
 ผศ.ดร. จิตติ มงคลชัยอรัญญา คณบดีวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
 ผศ.ดร. ดวงมณี เลาวกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม
กรรมการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ
 บุญ แซ่จุ่ง ที่ปรึกษา เครือข่ายปฏิรูปที่ดินเทือกเขาบรรทัด
 ประยงค์ ดอกลำใย ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม
ดำเนินรายการ นาตยา แวววีรคุปต์


เวลา 12.00 - 12.40 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
เวลา 12.40 – 13.00 น. การแสดงหนังตะลุงสะท้อนปัญหาและนโยบายที่ดิน
เวลา 13.00 – 13.20 น. เปิดเวทีภาคบ่าย วาดภาพสด “ที่ดินคือชีวิต” โดย เทพศิริ สุขโสภา ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี 2560 และหนึ่งในคณะกรรมการตัดสินการประกวดภาพถ่าย


เวลา 13.20 – 13.50 น. ประกาศผลรางวัลและมอบรางวัลผู้ชนะการประกวดภาพถ่าย หัวข้อ “ที่ดินคือชีวิต” 
ร่วมตัดสินรางวัลโดย
 ธีรภาพ โลหิตกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ด้านสารคดี ประจำปี 2558
 ผู้แทนเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
 ผู้แทนขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม 
มอบรางวัลโดย ประธานเครือข่ายนักธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

เวลา 13.50 น. ผู้ดำเนินรายการเชิญตัวแทนพรรคการเมือง 10 พรรค และตัวแทนเครือข่ายภาคประชาชนขึ้นสู่เวที “จากนโยบายที่ดินและข้อเสนอภาคประชาชน สู่นโยบายพรรคการเมือง : จากคราบน้ำตาสู่รอยยิ้ม จากความเหลื่อมล้ำสู่ความเท่าเทียมที่ยั่งยืน”

เวลา 13.50 - 14.20 น. ตัวแทนภาคประชาชนนำเสนอข้อสรุปในห้องเรียนที่ดิน 6 ห้อง และข้อเสนอทางนโยบายเกี่ยวกับผลกระทบเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งข้อเสนอนโยบายในการรับรองสิทธิและการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน

เวลา 14.20 – 14.50 น. ตัวแทนพรรคการเมืองสะท้อนแนวทางในการผลักดันข้อเสนอของภาค
ประชาชนสู่นโยบายของพรรค พรรคละ 3 นาที
เวลา 14.50 น. พิธีปิด 
หมายเหตุ * อยู่ระหว่างการประสานงาน

ดูลิงค์กิจกรรมที่ https://www.facebook.com/Pmove2011/?eid=ARCSebrlaBbFViNmYFJO3f51_H6Fyjjq7SpUQKquv5Kr0ymL9YsYH6uqMLJjc5yNhOpOUA5CIFbyl9e9


.......................................................................
ร่วมจัดโดย 
สถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 
วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์
โครงการมหาวิทยาลัยยั่งยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
มูลนิธิชุมชนไท
มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ
มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย
Land Watch Tha่i กลุ่มจับตาปัญหาที่ดินไทย 
แอ็คชั่นเอด ประเทศไทย 
EU สหภาพยุโรป
สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม
ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (P-move)