ทางเลือกต่อการประหารชีวิต:การคุมขัง การกลับใจ การให้อภัย และการเยียวยา
การอภิปรายและการแสดงทางวัฒนธรรมในโอกาสครบรอบปีที่ 71 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หลายประเทศถือว่าโทษประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน นั่นคือสิทธิในชีวิต อย่างไรก็ดี หลายประเทศในเอเซียอาคเนย์ยังคงดำรงโทษประหารชีวิตไว้สำหรับอาชญากรรมที่ร้ายแรง ถึงแม้ว่าโทษดังกล่าวจะไม่เป็นการป้อมปรามอาชญากรรมอย่างมีผล นอกจากจะยกเหตุผลเรื่องการป้องปรามอาชญากรรมทั้ง ๆ ที่ไม่ค่อยมีผลก็ตาม ยังมีการยกเหตุผลอื่น ๆ มาสนับสนุนโทษประหารชีวิตอีก เช่น การรักษากฏหมายและความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการให้ความยุติธรรมแก่ผู้เสียหาย อย่างไรก็ดี มีหลายประเทศที่แม้จะคงโทษประหารชีวิตไว้ แต่ก็หลีกเลี่ยงที่จะบังคับโทษประหารชีวิต และเลือกที่จะพักการบังคับโทษในทางปฏิบัติ และใช้การจำคุกแทนการประหารชีวิต
“เครือข่ายยุติโทษประหารชีวิต” จึงเห็นสมควรจัดการอภิปรายและการแสดงทางวัฒนธรรม โดยมีกำหนดการดังนี้
13.00-13.10 น. กล่าวต้อนรับโดยผู้อำนวยการสมาคมฝรั่งเศส
13.10-13.25 น. ปาฐกถานำเรื่อง “สิทธิมนุษยชนและโทษประหารชีวิต” โดย ศ. ดร. อมรา พงศาพิชญ์ อดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และตัวแทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
13.25-15.00 น. อภิปรายเรื่อง “อาชญากรรม การลงโทษ และความเมตตากรุณาในเอเซียอาคเนย์”
ผู้อภิปรายนำ: - มงซินญอร์ ดร. วิษณุ ธัญญอนันต์, รองเลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย
- Daniel Pascoe, ผู้เขียนหนังสือชื่อ “Last Chance for Life: Clemency in Southeast Asian Death Penalty Cases”
- Lucy Harry, นักศึกษาปริญญาเอกที่ทำการวิจัยเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
ผู้ดำเนินการอภิปราย
15.00 – 15.20 น. การแสดงละครใบ้ โดยกลุ่มละคนคนหน้าขาว มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.)
15.30 – 16.25 น. บอกเล่าเรื่องราวการเอื้ออำนวยให้เยาวชนมีจิตใจที่สงบในระหว่างถูกควบคุมตัว
โดย ทิชา ณ นคร, ผู้อำนวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านกาญจนาภิเษก และคณะ
16.25 -16.30 น. กล่าวปิดการประชุมโดย ลัดดาวัลย์ ตันติวิทยาพิทักษ์, เครือข่ายยุติโทษประหารชีวิต
Alternatives to Death Penalty: Detention, Repent, Forgiveness and Remedy
Public Discussion and cultural events on the occasion of the 71st anniversary of the Universal Declaration of Human Rights
Death Penalty (DP) is considered by many nations as a violation of basic human rights i.e. the right to life. However, for serious crimes, many countries in South East Asia still keep such penalty despite its ineffectiveness as a deterrence to such crimes. The arguments in favour of DP include not only the illusive deterrence but also to keep law and order in the country, and to provide justice to the victims. However, many countries that still have such penalty try to avoid actual execution and prefer to practice a moratorium to the implementation of DP, while other countries practice clemency or pardon and replace DP by imprisonment of the perpetrators of serious crimes as an alternative to DP.
“The Abolition of Death Penalty Network” will organize a public discussion and cultural events.
Tentative Agenda
13.00-13.10 pm. Welcome speech by the Director of Alliance Française
13.10-13.25 pm. Opening speech on “Human rights and Death Penalty” by Prof. Dr. Amara Pongsapich, former Chairperson of the National Human Rights Commission and representative of Thailand to the ASEAN Intergovernmental Commission of Human Rights (AICHR)
13.25-15.00 pm Panel Discussion on “Crimes, Punishment and Clemency in South East Asia”
Panelists: - Monsignor Andrew Vissanu Thanya-Anan, Deputy Secretary General of Catholic Bishops’ Conference of Thailand
- Daniel Pascoe, the author of the book entitled “Last Chance for Life: Clemency in Southeast Asian Death Penalty Cases”
- Lucy Harry, a D.Phil. (Oxon.) candidate undertaking a research on DP in Thailand, Malaysia and Indonesia
Q&A and Discussion
Moderator:
15.00 – 15.20 pm Performance by youth.
15.30 – 16.25 pm Testimony of Opportunity for Youth under Detention to Have Peaceful Mind
Narratives by - Thicha Na Nakorn, Director of Baan Kanjanapisek Juvenile Vocational Center
- Youth of Baan Kanjanapisek
16.25 -16.30 pm Concluding remark by Laddawan Tantivitayapitak, the Abolition of DP Network