โดยตั้งข้อสังเกตุว่า เมื่อ้างถึงกฎ(หมาย)ก็จะหมายถึงการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ และการใช้อำนาจในการปกครองประชาชน ทั้งที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านความหมายและการนำไปใช้ประโยชน์ จึงขอแสดงความคิดเห็นดังต่อไปนี้
สรุปโดยย่อ
กฎ(LAW) คือ ทฤษฎีที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ มีเนื้อหาสารประโยชน์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง พิสูจน์และตรวจสอบความถูกต้องได้อย่างชัดเจน เป็นที่ยอมรับของทุกคนทุกฝ่าย โดยไม่มีใครโต้แย้งได้หรือมีข้อโต้แย้งน้อยที่สุด ผู้ที่สามารถออกกฎ ( LAW )ได้คือบุคคลผู้ซึ่งมีอัจฉริยะทางความคิด มีสติปัญญาความรอบรู้อันเป็นเลิศ รู้แจ้งเห็นจริงหรือตรัสรู้ ดั่งองค์พระพุทธเจ้า และบุคคลสำคัญที่สร้างกฎไว้ในศาสตร์แต่ละศาสตร์ ให้เราได้ศึกษาเล่าเรียนกัน ตั้งแต่อนุบาล ยันจบปริญญา
การนำไปใช้ประโยชน์ ก็คือสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา เช่น รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพย์ หรือจะนำไปควบคุม แก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาโลกร้อน ปัญหาการจราจร ปัญหานิวเคลีย ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาฝนแล้ง ปัญหาแผ่นดินไหว ปัญหาไฟไห้ม ปัญหาป่าไม้ อื่นๆอีกมากมาย
แต่การใช้อำนาจอธิปไตย เป็นเรื่องของการใช้อำนาจอันเป็นสิทธิและหน้าที่ของประชาชน แต่ละคน แต่ละอาชีพ ทั้งในส่วนของราษฎร(ส่วนใหญ่) ส่วนของราชการ(ส่วนน้อย) และส่วนของผู้แทนประชาชน(กลุ่มน้อน) เพื่อผลประโยชน์ในชีวิต(ร่างกายและจิตใจ)และทรัพย์สิน ของแต่ละคน แต่ละอาชีพ และเพื่อมิให้เกิดปัญหา จากการใช้อำนาจอันเป็นสิทธิและหน้าที่ จนเกินขอบเขตเกินเลย หรือ ละเว้น ละเลย เพิกเฉย ไม่ใช้อำนาจอันเป็นสิทธิและหน้าที่ จนเกิดปัญหาสร้างความเสียหาย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของ ผู้อื่น จึงจำเป็นต้องมีข้อบังคับที่ดี(มิใช่กฎหมาย)ไว้เป็นแนวทางในกการปฏิบัติ
การนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อให้เกิดความสันติสุข ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนคนไทยทั้งประเทศ จะได้ไม่ต้องมาประท้วง เผาบ้านเผาเมืองอีก
ส่วนการปกครอง(ประชาธิปไตย) เป็นเรื่องของการใช้อำนาจธิปไตย ไปใช้ปกครอง(ควบคุม)เจ้าหน้าที่ ทั้งในส่วนของราษฎร(ส่วนบุคคล) ส่วนของราชการ(ส่วนรวม) และส่วนของผู้แทนประชาชน(ส่วนรวม)
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ ได้ทำงานอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และ มีประสิทธิผลสูงสุด จึงจำเป็นต้องมีข้อบังคับที่ดี(มิใช่กฎหมาย)ไว้เป็นแนวทางในกการปฏิบัติ
การนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อให้เพื่อให้เจ้าหน้าที่ ได้ทำงานอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และ มีประสิทธิผลสูง ไม่มีทุจริตคอรับชั่น ไม่กินบ้านกินเมือง ไม่กินป่ากินเขา ถนนแม่น้ำลำครองสะอาดปลอดภัย เป็นต้น
องค์ประกอบพื้นฐานของการปกครอง
1 ต้องมีผู้ปฏิบัติหน้าที่(เจ้าหน้าที่)
เช่น คัดเลือกผู้มีความรู้มีความสามารถที่เหมาะสม
2 ต้องมีการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ตามอำนาจอ้นเป็นหน้าที่
3 ต้องมีการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
4 ต้องมีการประเมินผลงาน ของเจ้าหน้าที่
5 ต้องมีการให้คุณ และ ให้โทษ กับเจ้าหน้าที่
ส่วนอำนาจธิปไตย คือ อำนาจที่ได้มาจาก กรรมวิธีประชาธิปไตย โดย
ประชาชนผู้มีอำนาจอธิปไตย ร่วมกัน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
กรรมวิธีประชาธิปไตย แบ่งได้ 2 ประเภท
1 กรรมวิธีประชาธิปไตย บนความคิดเห็นที่ตรงกัน มีทิศทางไปในทางเดียวกัน ก่อเกิดความสามัคคี น้ำหนึ่งใจเดียวกัน เช่น การชุมนุมประท้วงของกลุ่ม เสื้อแดงธิปไตย และ เสื้อเหลืองธิปไตย (อยู่นอกการปกครอง)
2 กรรมวิธีประชาธิปไตย บนความคิดเห็นที่แตกต่างกัน มีทิศทางที่แตกต่างกัน จึงจำเป็นต้องคัดเลือกทิศทางที่ดีที่สุด โดยมีความขัดแย้งน้อยที่สุด แบ่งได้ 3 ประเภท
1 คัดเลือกด้วยวิธี ใช้เสียงข้างมาก หรือ เสียงส่วนใหญ่
2 คัดเลือกด้วยวิธี วัดความรู้ความสามารถ หรือ แข่งขัน
3 คัดเลือกด้วยวิธี เสี่ยงโชค หรือ เสี่ยงดวง เช่น การจับใบดำใบแดง ในการเกณฑ์ทหาร เป็นการใช้อำนาจธิปไตย บังคับควบคุม ผู้ที่ได้ใบแดง ต้องเป็นทหาร โดยผู้ที่เข้าเกณฑ์ทหาร คือผู้ที่มีอำนาจธิปไตย อันเป็นหน้าที่ ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป (อยู่นอกการปกครอง)
ขอแสดงความคิดเห็นแต่เพียงเท่านี้
ขอบคุญครับ
Comments
ไม่เข้าใจเนื้อหาที่คุณเขียน ก็เลยไม่รู้จะตอบอย่างไร = =a
แต่ขอเสนอความคิดเห็นไว้หน่อยนะครับ คำว่า กฎหมาย นั้นมีความหมายกว้างนะครับ กฎหมายนั้นเป็นแบบแผนกฎเกณฑ์ที่ใช้ควบคุมความประพฤติของคนในสังคม(กล่าวโดยย่อ) สิ่งใดๆที่มีลักษณะเช่นนี้เรามักจะเรียกเป็นกฎหมาย รวมทั้งสิ่งที่คุณเรียกมันว่า "ข้อบังคับที่ดี" เพราะข้อบังคับที่ดีของคุณก็มีไว้เพื่อควบคุมความประพฤติของคนในสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขใช่หรือไม่ครับ? เพื่อไม่ให้เกิดการใช้สิทธิเสรีภาพเกินส่วน อย่างที่คุณได้กล่าวไว้ ดังนั้นสิ่งที่คุณเรียกมันว่า"ข้อบังคับที่ดี" โดยดูจากบริบทแวดล้อมที่คุณต้องการสื่อ ผมก็สรุปได้ว่ามันก็คือกฎหมายนั่นล่ะครับ
ปล คำว่า "อำนาจธิปไตย" นี่ผมก็เพิ่งเคยได้ยิน ผมยังคงไม่เข้าใจความหมายที่คุณให้ไว้
ขอแก้ไขเพิ่เติม ครับ ในบรรทัดสุดท้าย
จาก
โดยผู้ที่เข้าเกณฑ์ทหาร คือผู้ที่มีอำนาจธิปไตย อันเป็นหน้าที่ ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป (อยู่นอกการปกครอง)
เป็น
โดยผู้ที่เข้าเกณฑ์ทหาร คือผู้ที่มีอำนาจอธิปไตย อันเป็นหน้าที่ ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป (อยู่ในการปกครอง)
เพราะเป็นการคัดเลือก บุคคลที่เหมาะสม เขัามาปฏิบัติหน้าที่(เจ้าหน้าที่) ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการปกครอง ในส่วนของราชการ
อำนาจอธิปไตย เป็นอำนาจสูงสุด และผู้ที่เข้าเกณฑ์ทหาร คือผู้ที่มีอำนาจอธิปไตย อันเป็นหน้าที่
ซึ่งมีอำนาจสูงสุด ใครก็ทำแทนไม่ได้ หรือจะมอบอำนาจให้ใครก็ไม่ได้ สูงสุดหรือยังครับ??
คำว่า กฎหมาย นั้นมีความหมาย อย่างไร? และ ความหมายของอำนาจธิปไตย จะแจ้งให้ทราบ
ตรงประเด็นในใจคนหลายคนดีมากครับ นี่ถ้าึุคุณ ณัฐพัชร์ มาเห็นต้องร่วมโวตอย่าแรงกล้า ตามความเห็นของผม ระบบ 2 ระบบ 1.ระบบที่ดีของกฏหมาย 2.ระบบที่ดีของ "จิตสำนึก" หน้าที่ความรับผิดชอบ"( ทำหน้าที่ควบคุม)
บ้านเรามีกฏหมายที่ถูกตราไว้มากมายจัดเป็น ระดับโลกได้เลย (กฏหมายหมวกกันน๊อค) และแก้ซ้ำไปซ้ำมาหลายรอบ ถ้าตัวตรากฏหมายเป็นกระดาษ กระดาษใบนี้จะต้องขาดหรือทะลุไปแล้ว
ผมของยกความคิดของคุณ ณัฐพัชร์ เพราะผมเห็นด้วยกับ "ระบบที่ดี กับคนที่ดี" ของแก จึงสามารถนำพาประเทศไทยเจริญได้อย่างรวดเร็ว
การตีความในกฏหมายยังมองได้ 2 ประเด็น
1.ด้วยจิตสำนึก หน้าที่ สังคม ศิลธรรม จารีดประเภณี วัฒนธรรม ส่งผลให้คนควรทำหรือไม่ควรทำ ควรใช้ หรือไม่ใช้กฏหมายใดๆในการกล่าวโทษฐานความผิดต่างๆ ต้องพิจารณาอย่างเป็นธรรมรอบคอบ
2. บทกฏหมายดิบๆ มาตราไว้เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของประชาชนในชาติทุกคน รวมถึงสิ่งต่างๆที่ประชาชนรัก เช่น สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ฯลฯ อย่างเช่นทุกวันนี้
แต่ไม่ใช่บทกฏหมาย แบบอารายนานาประเทศที่เจริญแล้ว จริงๆ ผมไม่เห็นด้วยกับคำว่า อารยธรรมนาๆประเทศที่เจริญ เพราะมันเ้ป็นนามธรรมของประเทศที่เจริญแล้ว มีความขัดแย้งมากมายในข้อนี้ เพราะประเทศที่เจริญแล้วอย่า อังกฤษ หรือฟรั่งเศษ มาจากการล่าอณานิคม คือประเทศล่าอณานิคม แบบนี้จะให้เรียกว่าเจริญทางไหนดี (ประเทศรวย) ผมจึงข้อตัดไม่เอาข้อนี้ และไม่ขอถกในข้อนี้กับใครเพราะมันขัดแย้งในตัว เพราะประเทศเหล่านั้นไม่มีศิลธรรม จารีดประเภณีอันดีงามแบบประเทศไทยเรา
ผมข้อสรุปไว้แค่นี้ หากมีอะไรไม่สมควร กรุณาชี้แนะด้วยนะครับ