-
แม้การเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 จะผ่านไปนานกว่าสองเดือนแล้ว แต่ก็ยังไม่มีความชัดเจนว่าผู้ใดจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 และเมื่อใดการจัดตั้งรัฐบาลใหม่จะแล้วเสร็จ ...
-
26 กรกฎาคม 2566 ที่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) วีวอทช์ (We Watch) ...
-
ความรู้สึกอึมครึมหลังการเลือกตั้งคือสัญญาณรอบล่าสุดของความไม่ปกติในการเมืองไทย กลไกต่าง ๆ ที่ถูกวางไว้ในรัฐธรรมนูญ 2560 โดยคณะรัฐประหารเมื่อเก้าปีที่แล้ว ...
-
19 กรกฎาคม 2566 เสรี สุวรรณภานนท์ สมาชิกวุฒิสภา (สว.) อภิปรายระหว่างการพิจารณาในประเด็นว่า การเสนอชื่อ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกฯ พรรคก้าวไกลให้ที่ประชุมพิจารณาเป็นผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกฯ อีกครั้ง ...
-
แม้การรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 จะผ่านมาแล้วถึงเก้าปี และประเทศไทยได้ผ่านการเลือกตั้งมาแล้วถึงสองครั้ง แต่กลไก กฎหมาย และคณะบุคคลจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ยังคงมีบทบาทอยู่ถึงปัจจุบัน สิ่งเหล่านี้ถูกเรียกรวมๆ ว่า ...
-
แม้จะได้ยินอยู่บ่อยครั้งในช่วงหาเสียงของเหล่านักการเมืองทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ในทำนองว่า อาสารับใช้ประชาชน แต่อย่างไรเสีย การเข้าสภาไปทำหน้าที่ สส.ไม่ใช่งานจิตอาสา ...
-
ไร้รัฐบาล 66 วัน ยังตั้งไม่ได้! เลือกตั้ง 66 ทะลุขึ้นอันดับสองของการ รอรัฐบาลใหม่ภายหลังรัฐสภาลงมติเห็นชอบพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคก้าวไกลด้วยเสียงที่ไม่ถึง 376 ตามเกณฑ์ขั้นต่ำ ในวันที่ 13 กรกฎาคม ...
-
กลไกหนึ่งที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) วางเอาไว้เพื่อควบคุมการเมืองไทยคือบรรดาองค์กรอิสระ โดยองค์กรที่ทำหน้าที่ได้อย่างดีในช่วงเวลาที่ผ่านมาก็คือศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งได้รับการคัดเลือกจากทั้งสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ...
-
การประชุมรัฐสภาเพื่อลงมติให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 จบลงโดยพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกฯ ของพรรคก้าวไกล ซึ่งเป็นผู้ถูกเสนอชื่อเพียงคนเดียวในวันดังกล่าว ...
-
ศาลรัฐธรรมนูญ เป็นที่พูดถึงอีกครั้งหลังจากวันนี้ (19 กรกฎาคม 2566) ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ รับคำร้องจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เรื่อง การหมดสมาชิกสภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ จากการถือครองหุ้นสื่อไอทีวี ...