20 ม.ค. 67
ปลายปี 2566 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการางกฎหมายสมรสเท่าเทียม เส้นทางการผลักดันแก้ไขกฎหมายแพ่งเพื่อสมรสเท่าเทียมไม่ได้เริ่มต้นในปี 2566 แต่เคยเกิดขึ้นแล้วก่อนหน้านั้นจากกระบวนการแก้ไขกฎหมายโดยสภาและการยื่นเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญโดยภาคประชาชน
14 ม.ค. 67
กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
14 ม.ค. 67
12 มกราคม 2567 กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ หรือ #Conforall แถลงเตรียมยื่นหนังสือขอเข้าพบ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลในวันที่ 15 มกราคม 2567 เพื่อหารือทางออกแนวทางการทำประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
10 ม.ค. 67
กระบวนการได้ สว. จะมาจากการเลือกกันเองของผู้สมัคร แต่ก็มีกรรมการในการคอยดูแลและควบคุมการเลือก สว. ด้วยเช่นกัน โดยใน พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 และระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 ได้กำหนดที่มาและบทบาทของผู้ดูแลการเลือก สว. ไว้ดัง
4 ม.ค. 67
หลายประเด็นทางการเมืองที่มีบทสนทนาหรือมีความเคลื่อนไหวในปี 2566 แล้วยังไม่ได้สำเร็จลุล่วง ไม่ว่าจะเป็นประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ การนิรโทษกรรมประชาชน การแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพื่อสมรสเท่าเทียม ขณะเดียวกันปี 2567 ก็จะมีความเปลี่ยนแปลงหนึ่งที่น่าจับตา คือ สว. ชุดใหม่
3 ม.ค. 67
ภายใต้คำถามประชามติ ให้เขียนรัฐธรรมนูญใหม่โดยไม่แก้ไขหมวด1 และหมวด 2 mujอาจจะนำไปสู่ปัญหาได้มาก จึงชวนประชาชนช่วยกันคิดว่า หากเกิดการทำประชามติขึ้นด้วยคำถามนี้ ประชาชนมีทางเลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ได้อย่างไรบ้าง แต่ละทางเลือกจะส่งผลอย่างไรต่อไป