Articles

วันนี้ (8 กุมภาพันธ์ 2562) เป็นวันสุดท้ายที่พรรคการเมืองต้องเสนอ 'บัญชีว่าที่นายกฯ' ไม่เกินสามรายชื่อต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง โดยพรรคที่สร้างแรงสั่นสะเทือนทางการเมืองคือ พรรคไทยรักษาชาติ ที่เสนอชื่อ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี พระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้า เป็นว่าที่นายกรัฐมนตรีที่พรรคจะเสนอเพียงคนเดียว
Non elected PM
ประเด็นข้อถกเถียงหนึ่งของการเลือกตั้ง'62 คือ การตีความคำว่า “นายกฯ คนใน” และ “นายกฯ คนนอก” ตามกติกาใหม่การพิจารณาเพียงว่า เป็น ส.ส. ด้วยหรือไม่ ยังแคบเกินไป แต่ต้องพิจารณาว่า คนที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้เป็นส่วนหนึ่งของสนามเลือกตั้ง มีความเชื่อมโยงกับประชาชนด้วยหรือไม่
ถอดบทเรียนวงเสวนา “วิเคราะห์การรับฟังพยานหลักฐาน ของศาลในคดีอาญา ผ่านคดีฆาตกรรมอำพรางวัยรุ่นกาฬสินธุ์ช่วงรัฐบาลประกาศนโยบายทำสงครามกับยาเสพติด ” DSI ชี้พิรุธคดีและสถานการณ์อันตรายของพยาน อัยการเล่าที่มาเกี่ยวกับมูลเหตุฆาตกรรม ทนายความย้ำศาลต้องชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานให้ดีก่อนใช้ดุลพินิจ
Prime Minister List
เลือกตั้ง 24 มี.ค. 2562 บังคับให้พรรคการเมืองเสนอ "บัญชีว่าที่นายกรัฐมนตรี" ก่อนการเลือกตั้งไม่เกินพรรคละ 3 รายชื่อ ซึ่งคนที่จะมีโอกาสเป็นนายกฯ หลังการเลือกตั้งต้องอยู่ในรายชื่อบุคคลที่พรรคการเมืองเสนอไว้ ซึ่งไม่ใช่การให้ประชาชนเลือกนายกฯ โดยตรง แต่จะเป็นการเลือกผ่าน ส.ส. 500 คน และ ส.ว. 250 คน 
เรามักจะพูดกันเสมอว่าคนแต่ละเจเนอเรชั่นคิดไม่เหมือนกัน เพราะเกิดมาคนละยุค แต่เคยคิดไหมว่า ถ้าเราใช้จำนวนของคนแต่ละเจเนอเรชั่นมาคำนวณเป็นจำนวนผู้แทนในสภา เสียงของคนในเจเนอเรชั่นใดจะเป็นตัวแปรสำคัญในการกำหนดทิศทางสังคม 
จำกัดการหาเสียงออนไลน์
ในโลกยุคปัจจุบัน คนเกือบทั้งโลกได้ใช้ช่องทางบนโลกออนไลน์ เพื่อติดต่อสื่อสารกันอย่างง่ายดาย แต่ในการเลือกตั้งปี 2562 กกต. กลับออกระเบียบที่มาก็จำกัด ‘การหาเสียงออนไลน์’ มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง 
manual cover
ทำความเข้าใจระบบเลือกตั้งแบบใหม่ที่ถูกออกแบบขึ้นโดยรัฐบาล คสช. อย่างเข้าใจง่าย ด้วยคู่มือการเลือกตั้ง "รู้ก่อนกา กลเกมเลือกตั้ง'62" ดาวน์โหลดไฟล์ PDF ได้แล้ววันนี้!
ปัจจุบัน พรรคการเมืองอย่างน้อย 9 พรรคที่เปิดเผยรายชื่อนายกฯ ที่พรรคจะเสนอ แต่ทว่า พรรคการเมืองเหล่านี้ยังมีเงื่อนไขอีกอย่างน้อย 3 ข้อ ที่ต้องจัดการให้ได้ ถึงจะมีสิทธิเป็นพรรคที่จัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
ปฏิเสธไม่ได้ว่า การเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 เป็นช่วงหัวเลี้ยงหัวต่อของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) หลังอยู่ในอำนาจมานานกว่า 4 ปี ทั้งนี้ ภายใต้รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งที่ คสช. เขียนขึ้น เปิดช่องให้คสช. ไม่ลงจากอำนาจไปง่ายๆ โดยพรรคการเมืองที่จะเป็นปัจจัยหลักในการอยู่ในอำนาจต่อของ คสช. ก็คือ 'พรรคพลังประชารัฐ'
Debate
ในการเลือกตั้งปี 2562 มีกติกาใหม่เรื่องการจัดดีเบตระหว่างผู้สมัครจากพรรคการเมืองก่อนการเลือกตั้ง ซึ่งดำเนินการโดย กกต. เวทีนี้จะแบ่งพรรคการเมืองเป็นกลุ่มพรรคขนาดใหญ่กับพรรคขนาดเล็กตามจำนวน ส.ส. ที่ส่งลงสนาม และให้ออกอากาศทางโทรทัศน์และวิทยุด้วย