-
19 พฤษภาคมของทุกปีกลายเป็นวันและเดือนสำคัญทางการเมืองและประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นวันสุดท้ายของการสลายการชุมนุมกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือที่คุ้นเคยกันในชื่อ คนเสื้อแดง ในปี 2553 ซึ่งมีผู้บาดเจ็บไม่น้อยกว่า 2,000 ...
-
ภายใต้การปกครองเพื่อควบคุมอำนาจเบ็ดเสร็จโดย คสช. มีประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557 ประกาศให้พลเรือนที่กระทำความผิดในบางประเภท ได้แก่ คดีอาญาในหมวดพระมหากษัตริย์ คดีอาญาหมวดความมั่นคง และคดีฝ่าฝืนประกาศและของคำสั่งของ คสช. เช่น การชุมนุมทางการเมือง ...
-
สี่ปีภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ที่มีทหารอยู่ 145 คนจาก 250 คน อนุมัติ ขึ้นเงินเดือนทหาร สามครั้ง อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางปัญหาอุปสรรคจากเศรษฐกิจ และการเงินในประเทศ สวนดุสิตโพลสำรวจความเห็น ...
-
29 มีนาคม 2559 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งหัวหน้าคสช. ฉบับที่ 13/2559 เรื่อง การป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดบางประการที่เป็นภยันตรายต่อความสงบเรียบร้อยหรือบ่อนทําลายระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยคำสั่งดังกล่าว ...
-
ประกาศ คสช. ฉบับที่ 37/2557 38/2557 และ 50/2557ได้สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อกระบวนการยุติธรรมไทยอย่างมหาศาล เพราะก่อนหน้ายุคคสช. คงไม่มีพลเรือนคนไหนคาดคิดว่าในชีวิตจะต้องขึ้น ศาลทหารซึ่งประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติทั้งสามฉบับ ...
-
ในยามปกติ ศาลทหารมีการพิจารณา 3 ชั้น เช่นเดียวกับศาลยุติธรรม แต่เมื่อมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารจะเปลี่ยนเป็น ศาลทหารในภาวะไม่ปกติ ...
-
พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยอำนาจของศาลทหาร และวิธิพิจารณาคดีในศาลทหาร เป็นกฎหมายที่เก่ามากแล้ว แก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อปี 2526ตามปกติศาลทหารมีไว้พิจารณาคดีอาญาที่ทหารเป็นจำเลยเท่านั้น ...
-
On 25 May 2014, three days after seizing the ruling power, the National Council for Peace and Order (NCPO) issued the Announcement no. 37/2557 to empower the Military Court to have jurisdiction of all offences against Articles 107-112 in Chapter ...
-
หลังการยึดอำนาจได้ 3 วัน วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ออกประกาศฉบับที่ 37/2557 กำหนดให้ การกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ในหมวดเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ มาตรา 107-112 หมวดเกี่ยวกับความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา 113-118 ...
-
เมื่อกล่าวถึงความแตกต่างระหว่าง ศาลพลเรือน กับ ศาลทหาร นอกจากเรื่องขอบเขตอำนาจศาลที่แตกต่างกันแล้ว ยังมีประเด็นที่น่าเล่าสู่กันฟังในสถานการณ์ที่ศาลเหล่านี้เริ่มเข้ามาเกี่ยวข้องและเป็นที่สนใจของสังคมมากขึ้นมุมที่จะเล่าสู่กันฟังวันนี้ ...