-
28 กุมภาพันธ์ 2566 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 (พ.ร.ก. แก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ) ที่ประกาศใช้ไปเมื่อ19 กุมภาพันธ์ 2566 ...
-
28 กุมภาพันธ์ 2566 วันปิดสมัยประชุมสภาสมัยสุดท้ายของสภาที่มาจากการเลือกตั้ง 2562 สภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดนัดเรื่องด่วน พิจารณาอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ...
-
หนึ่งในกฎหมายสำคัญซึ่งผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในปี 2565 คือ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 (พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ) โดยสภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างกฎหมายดังกล่าวไปเมื่อ 16 ...
-
วันที่ 27 มีนาคม 2565 เวลา 17.00 น. เครือข่ายภาคประชาสังคมนำโดย Protection international และกลุ่มดินสอสี จัดกิจกรรม Women : Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรมที่ไม่สิ้นสุด ตอนหนึ่งมีการร่วมแลกจากผู้หญิงสี่คนที่ยังคงเรียกร้องความยุติธรรมคือ ...
-
23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ... ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ...
-
บทความโดย อัญชนา หีมมิหน๊ะ กลุ่มด้วยใจแก้ไขเรียบเรียงโดย iLawการซ้อมทรมานเกินขึ้นหลายครั้งใน จังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทยเหตุการณ์การซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัวในจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทยมีหลายกรณีที่เป็นที่จดจำ ไม่ว่าจะเป็นกรณีของอิหม่ามยะผา ...
-
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลและคณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล ผิดหวังกับมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ที่ชะลอการพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญที่เอาผิดกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย ทั้งสององค์กรเรียกร้องรัฐบาลไทยให้ยุติมาตรการใดๆ ...
-
ตั้งแต่เหตุการณ์ 9/11 โลกกำลังเผชิญหน้ากับภัยก่อการร้ายหลายรูปแบบ และข้อมูลเป็นปัจจัยสำคัญในการทำสงครามต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งวิธีการที่เจ้าหน้าที่จะได้ข้อมูลมานั้น ส่วนหนึ่งมาจากาการซ้อมทรมานทั้งให้รับสารภาพบ้าง หรือให้คายข้อมูลสำคัญออกมาก ...