-
21 ธันวาคม 2559 ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) จัดงานเสวนาเรื่อง มองปรากฎการณ์เรื่องเพศในสังคมไทย ปี 2559โดยเสวนาครั้งนี้มีการนำเสนอประเด็น เกี่ยวกับพื้นที่และตัวตนของกลุ่มเกย์ในทวิตเตอร์ ที่มีการเผยแพร่คลิปความสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย ...
-
นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม10 ธันวาคม 2559 ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ...
-
27 พฤศจิกายน 2559 เครือข่ายวิชาการเพื่อสังคมเป็นธรรม (Jusnet) จัดงานเสวนาเปิดตัวหนังสือ Fifty Shades of Work หลายเฉดชีวิตนอกระบบ ณ ร้าน LetsSay café หนังสือที่รวบรวมบทสัมภาษณ์จากแรงงานนอกระบบ 11 คนผู้จัดงานอธิบายของแนวคิดต่อเรื่องแรงงานนอกระบบว่า ...
-
จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย อคติ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ปัญหาส่วนตัว แต่ เป็นปัญหา โครงสร้างของรัฐ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ...
-
เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพรบ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้านกมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ ข้อมูลเท็จเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 ...
-
หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ...
-
เนื้อหาโดยจารุกิตติ์ ธีรตาพงศ์ / ภาพประกอบโดยalexmorellonว่ากันว่า เด็กคืออนาคตของชาติ เพราะเด็กฉลาด ชาติ (จะ) เจริญ แต่ความเจริญที่ว่าจะไปในทิศทางไหน ก็ขึ้นอยู่กับบริบทแวดล้อมที่หล่อหลอมความคิดความอ่านของเด็กขึ่นมา ...
-
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ค้นพบว่ามาตรา 14(1) ใน พระราชบัญญัติการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ซึ่งแอมเนสตี้และประชาชนทั่วไปมีความเป็นห่วงนั้นถูกแก้ไขเนื้อหาให้กลับมาเป็นเหมือนเดิมอีกครั้งในร่างแก้ไข พ.ร.บ. ...
-
ดร.นคร เสรีรักษ์วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นFounder and Director, Privacy Thailandสิทธิรับรู้ข้อมูลราชการ และ สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองในข้อมูลส่วนบุคคล ของคนไทย ได้รับการรับรองอย่างจริงจังโดยการเกิดขึ้นของ ...
-
โดย นันทชัย อินทรอักษรนักศึกษาโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กระแสวิพากษ์วิจารณ์เรื่องการเพิ่มบทลงโทษในคดีข่มขืนให้เป็นการประหารชีวิตถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นประเด็นสำคัญในสังคมไทยอย่างแพร่หลายนับตั้งแต่กรณีฆ่าข่มขืนน้องแก้ม ...