-
วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งส่งรีพอร์ตให้กัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์23 ธันวาคม 2559 ...
-
After a 6-hour session, the National Legislative Assembly (NLA) passed a revision to the Computer Crimes Act on 16 December, 2016 in a 168-0 vote with 4 abstentions. The law will come into effect after royal endorsement from the King in 20 days ...
-
ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ หรือ #พรบคอม ที่กำลังจะผ่าน สนช. ยังไม่ใช่ Single Gateway และไม่ใช่กฎหมายฉบับเดียวที่จะมาควบคุมการใช้งานอินเทอร์เน็ต การสื่อสาร และข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนแต่ยังมีอีกมากทั้งที่ผ่านแล้วและรอคิวอยู่ต้องไม่ลืมว่า ...
-
เราได้เห็นร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับล่าสุดกัน เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 หลังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จัดงานสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นประกอบการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ในครั้งนี้ร่างฉบับที่เราเห็นกันล่าสุด ...
-
เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพรบ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้านกมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ ข้อมูลเท็จเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 ...
-
หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ...
-
เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฯ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จัดงานสัมมนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นเพื่อแก้ไขกฎหมายปัจจุบันที่ประกาศใช้เมื่อปี ...
-
นักกฎหมายชี้ การใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ฟ้องคดีหมิ่นประมาทนั้นผิดเจตนารมณ์ สร้างผลกระทบต่อจำเลย เสนอตัดเรื่องนี้ออกจากพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เลย SEAPA ระบุ การผลักภาระให้จำเลยพิสูจน์ว่าข้อมูลส่วนไหนเท็จหรือจริง ทำงานเสวนา ชีวิตออนไลน์ ...
-
ฝ่ายกฎหมายของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตทั้ง True และ Dtac ต่างกังวลมาตรา 15 ของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ เนื่องจากนิยามของผู้ให้บริการกว้างมาก และกำหนดให้ผู้ให้บริการต้องมีความผิดเท่ากับผู้กระทำ ข้อเสนอแก้ไขใหม่กลับสร้างปัญหาความทับซ้อนของกฎหมาย ...