-
การจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ในปี 2562 มีเรื่องอื้อฉาวในทางลบมากมาย ตั้งแต่การจัดการเลือกตั้งล่วงหน้า การเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรก็พบเหตุวุ่นวาย ทั้งการแจกบัตรเลือกตั้งผิดเขต การต่อคิวยาวนาน การปรากฏชื่อผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิไปแล้ว ฯลฯ ...
-
หลังการเลือกตั้งปี 2566 พรรคอันดับหนึ่งที่รวบรวมเสียงข้างมากของสภาล่างไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ เปิดเผยให้เห็นความไม่ปกติของระบบการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ไปอีกระดับ แต่อย่างไรก็ตาม ...
-
ย้อนกลับไปก่อนการเลือกตั้ง การตัดคะแนนกันเอง ...
-
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)ประกาศผลอย่างเป็นทางการสำหรับการเลือกตั้ง 2562ไปแล้ว ปรากฏว่า พรรคพลังประชารัฐที่เปรียบดังพรรคตัวแทนของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้กวาดที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่งเขตไปถึง 97 ที่นั่ง ...
-
ในสนามการเลือกตั้ง 2562 มีทั้งพรรคการเมืองหน้าเก่าและพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นใหม่หลายพรรค รวมถึงการแตกตัวของพรรคการเมืองเก่าไปเป็นพรรคขนาดกลาง และขนาดเล็ก อันเป็นผลพวงจากระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ...
-
หลัง กกต. ประกาศผลการเลือกตั้ง สิ่งที่จะตามมาจะเป็นไปตามที่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ได้แก่ การเปิดประชุมสภา การเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา หลังจากนั้นจะเป็นการดำเนินการเลือกนายกรัฐมนตรี แต่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ...
-
ผ่านไปแล้วกับการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 และกติกาต่างๆ ที่ คสช. เขียนขึ้น ระบบการเลือกตั้งแบบใหม่นี้มีทั้งข้อดีและข้อเสียให้ได้เรียนรู้กันหลายประการ หากพิจารณาผลการเลือกตั้งเพึยงแค่ว่า ใครได้จัดตั้งรัฐบาล ...
-
หลัง กกต. เปิดเผยผลคะแนนการเลือกตั้ง100% จากการเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตแล้วเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562 และสำนักข่าว หรือนักวิชาการต่างก็หยิบผลคะแนนไป เข้าสูตร เพื่อคิดคำนวนจำนวนที่นั่ง ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อ หรือ ปาร์ตี้ลิสต์ของแต่ละพรรคการเมือง ...