-
การลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีจะต้องกระทำโดยการขานชื่อสมาชิกรัฐสภาตามลำดับตัวอักษร โดยไม่พิจารณาว่าเป็น ส.ส. หรือ ส.ว. แต่ท่ามกลางข้อเรียกร้องให้ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีตามเสียงข้างมากที่ได้รับเลือกมาโดยประชาชน ...
-
ย้อนกลับไปหลังการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562 การให้ความเห็นชอบบุคคลขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นการลงมติภายใต้บทเฉพาะกาลรัฐธรรมนูญมาตรา 272 ที่มีสาระสำคัญว่า ในช่วงห้าปีแรกที่มีรัฐสภาภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ...
-
ความเป็นไปได้หนึ่งของการเลือกนายกรัฐมนตรีคือสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่มาจากการแต่งตั้งทั้ง 250 คน ขวางการจัดตั้งรัฐบาล โดยการ งดออกเสียง เพื่อไม่ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใดได้เสียงถึงกึ่งหนึ่งของรัฐสภา การ บล็อก นายกรัฐมนตรีนี้ถือเป็นไพ่ใบสำคัญของ ...
-
ในการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 อดีตพรรคร่วมฝ่ายค้านอย่างพรรคก้าวไกลและพรรคเพื่อไทยครองเสียงในสภามากเป็นอันดับหนึ่งและสองตามลำดับโดยมีเสียงรวมกันเกือบ 300 คน ขณะที่พรรคแกนนำรัฐบาลเดิมอย่างพรรคพลังประชารัฐได้ที่นั่ง ส.ส.เป็นอันดับที่สี่ ...
-
19 มิถุนายน 2566 มีรายงานข่าวว่า คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ว่าที่ประชุมกกต. มีมติประกาศผลเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 เขต และแบบบัญชีรายชื่อ 100 คน รวม 500 คนหลัง กกต. ประกาศผลทางการ ...
-
การเลือกตั้งทั่วไป 2566 เมื่อ 14 พฤษภาคม 2566 ผ่านพ้นไปแล้ว ผลการเลือกตั้งที่ปรากฏเรียกได้ว่าพลิกโผ เพราะพรรคฝ่ายค้านเดิมในการเลือกตั้ง 2562 กลายเป็นพรรคที่ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) สูงสุดเป็นอันดับที่หนึ่งและอันดับที่สอง ...
-
หลังการเลือกตั้งทั่วไป 2566 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 จนถึงวันที่ 14 มิถุนายน 2566 ประเทศไทยกำลังเดินหน้าเข้าสู่สภาวะ ไร้รัฐบาลที่มีอำนาจเต็ม มานานแล้วกว่าหนึ่งเดือนเต็ม ซึ่งสร้างความน่ากังวลให้แก่ทุกฝ่ายในสังคมเป็นอย่างมาก ...
-
นี่คือการนับคะแนนที่นานที่สุด เครือข่ายประชาชนสังเกตการณ์เลือกตั้ง 66ทวงถามผลเลือกตั้งจาก กกต. หลังครบหนึ่งเดือน(เลื่อนลงด้านล่างเพื่ออ่านเนื้อหาในหนังสือที่ยื่นต่อ กกต.)14 มิถุนายน 2566 ครบรอบหนึ่งเดือนการเลือกตั้ง 2566 แต่คณะกรรมการการเลือกตั้ง ...
-
ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 เป็นต้นมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยก็แบ่งออกเป็นสองประเภท คือผู้แทนในรูปแบบเขต และผู้แทนแบบสัดส่วนหรือบัญชีรายชื่อ โดยในแบบหลังหรือที่เรียกกันว่า ปาร์ตี้ลิสต์ จะมาจากคะแนนของพรรคการเมืองทั้งประเทศ ...
-
ปรากฏการณ์ พลังดูด และการสลับขั้ว ย้ายพรรค เกิดขึ้นต่อเนื่องมายาวนานในระบบการเลือกตั้งไทย เมื่อ ส.ส. หลายคนตั้งเป้าหมายของการเลือกตั้งที่ ชัยชนะ มากกว่า หลักการ จึงเลือกย้ายกระโดดข้ามฟาก ข้ามไปข้ามมาอย่างไรก็ได้ บ่อยแค่ไหนก็ได้ ...