วันที่ 19 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา ภาคประชาชน นักวิชาการ นักศึกษา อย่างน้อย 28 เครือข่าย รวมตัวกันจัดงานเปิดตัว "คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" หรือ ครช. โดยวางเป้าหมายสื่อสารและรณรงค์เกี่ยวปัญหารัฐธรรมนูญปัจจุบันและแสวงหาฉันทามติร่วมต่อการสร้างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
17 กันยายน 2562 ที่รัฐสภา จรูญ ไชยศร รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เข้ายื่นหนังสือต่อ พล.ต.อ.เสรีพิสุทธิ์ เตมียเวช ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคเสรีรวมไทย ในฐานะประธานคณะกรรมาธิการสามัญการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งในยุค คสช. พล.อ.สรรเสริญ เริ่มเข้าสู่ตำแหน่งในกรมประชาสัมพันธ์โดยอำนาจมาตรา 44
ศาลรัฐธรรมนูญ ถือเป็นองค์กรและกลไกสำคัญในยามที่ประเทศต้องการตัดสินชี้ขาดทั้งในแง่ของการใช้อำนาจรัฐหรือความสับสนของการตีความกฎหมาย ซึ่งแน่นอนว่า ผลของการตัดสินย่อมส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนในสังคม ด้วยเหตุนี้ ศาลรัฐธรรมนูญจึงต้องมีหลักประกัน "ความเป็นอิสระ" ไม่ให้ตกเป็นเครื่องมือของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ทว่า การรัฐประหาร ปี 2557 ได้ทำให้ความเป็นอิสระถูกเคลือบแคลง ประกอบกับผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่สร้างข้อกังขาขึ้นในสังคม
วันนี้ (18 กันยายน 2562) ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัยเรื่องความเป็นรัฐมนตรีของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งหัวหน้า คสช. ซึ่งถือเป็นเจ้าหน้ารัฐ ศาลวินิจฉัยว่า พล.อ. ประยุทธ์ ในฐานะหัวหน้า คสช. ไม่ใช่เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ทำให้ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญและไม่ขาดคุณสมบัติ “ความเป็นนายกรัฐมนตรี”
17 กันยายน 2562 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2562 โดยมีจุดน่าสนใจอยู่ที่ข้อที่ 10 ในข้อกำหนดดังกล่าว ที่นำบัญญัติเรื่องการ "ห้ามวิจารณ์ศาลโดยไม่สุจริต" มาบรรจุไว้ และข้อกำหนดฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ 30 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือในวันที่ 17 ตุลาคม 2562
7 กันยายน 2562 มีการแต่งตั้ง ‘พล.อ.อ. มานัต วงษ์วาทย์’ เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศคนใหม แทนที่ พล.อ.อ. ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน และตามบทเฉพาะกาล (มาตรา 269) รัฐธรรมนูญปี 2560 ที่ให้ ผบ. เหล่าทัพดำรงตำแหน่ง ส.ว. ทำให้ พล.อ.อ มานัต เป็น ส.ว. อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย
ดีเอสไอ แถลงต่อสาธารณะว่า บิลลี่ได้เสียชีวิตแล้ว ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งใน 86 ราย ที่ถูกบังคับให้สูญหายในรอบ 28 ปี และแม้ว่าไทยจะเป็นภาคีในอนุสัญญาเรื่องคนหาย แต่ยังไม่มีการออกกฎหมายมาคุ้มครองและปกป้องสิทธิของประชาชน มีแต่เพียงร่างพ.ร.บ.ที่เสนอและตกไปเท่านั้น
ELECT สื่อข้อมูลการเมืองการเลือกตั้งไทย ชวนดูนิทรรศการ “ELECT after Election เลือกแล้วได้อะไร? ประชาธิปไตยไทยหลังการเลือกตั้ง” วงเสวนาตั้งคำถามถึงอนาคตของการเมืองไทยภายหลังการเลือกตั้งที่ผลออกมาเป็นรัฐบาลเสียงปริ่มน้ำ พร้อมมองอนาคตความจำเป็นในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
เหตุการณ์ซ้อมทรมานผู้ถูกควบคุมตัวในจังหวัดชายแดนใต้มีหลายกรณีที่เป็นที่จดจำ ล่าสุดกรณีของนายอับดุลเลาะ อีซอมูซอ ขาหยุดหายใจและมีอาการสมองบวมจากการหยุดหายใจ การค้นหาความจริงจะนำไปสู่การดำเนินการอื่นๆ ที่จะกลายเป็นฟันเฟืองในการสร้างสันติภาพที่แท้จริงได้
กป.อพช.ใต้ออกแถลงการณ์กรณีเอกชัย อิสระทะถูกชายฉกรรจ์อุ้มไปจากเวทีประชาพิจารณ์เหมืองหินปูน จังหวัดพัทลุงเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2562