-
พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 พระราชกำหนดการบริหารราชการในสภานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 มีปัญหามากมายทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ ร่วมลงนามเพื่อยกเลิกกฎหมายดังกล่าว
-
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหนึ่งในกฎหมายไม่กี่ฉบับที่ภาคประชาชนร่วมแรงร่วมใจกันลงชื่อจนครบเพื่อเสนอเป็นกฎหมาย บทเรียนจากการทำงานครั้งนั้นมีค่าเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเคลื่อนไหวในก้าวต่อๆไป
-
แม้ว่าจะปรากฏกรณีคนถูกอุ้มหาย แต่กฎหมายไทยยังไม่มีความผิดฐานบังคับบุคคลให้สูญหาย มีเพียงความผิดฐานฆ่าคนตายซึ่งไม่สามารถเอาผิดได้ในทุกกรณี
-
ทิศทางและความเป็นไปได้ในการจัดตั้งระบบหลักประกันชราภาพ และการผลักดันร่างพระราชบัญญัติหลักประกันชราภาพแห่งชาติ
-
ผู้สูงอายุคือกำลังแรงงานของสังคมในอดีต ที่รัฐต้องดูแลด้วยการจัดสวัสดิการชราภาพพื้นฐานที่เหมาะสมแบบถ้วนหน้า ดังนั้น รัฐควรเร่งยกระดับการจ่ายเบี้ยยังชีพ เป็น บำนาญประชาชน เพื่อลดช่องว่าง เพื่อกระจายรายได้ และคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของความชราภาพ
-
เมื่อมาตรการเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ กระทบสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงต้องชั่งน้ำหนักความสำคัญของหลักการทั้งสองประการ จำเป็นต้องเลือกเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือสามารถรักษาหลักการทั้งสองไว้ได้อย่างเสมอกัน
-
ดูเหมือนว่ากฎหมายที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะไม่สามารถป้องกันการซ้อมหรือทรมานผู้ต้องหาของเจ้าหน้าที่รัฐได้ หรือหากมีกรณีการซ้อมหรือทรมานเกิดขึ้นแล้ว กลไกตามปกติก็ไม่เข้มแข็งพอที่จะดูแลผู้เสียหาย ให้ได้รับการเยียวยาตามสมควร และไม่สามารถนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้
-
ร่วมเสนอชื่อกฎหมายตั้งองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งถือเป็นความหวังที่จะคุ้มครองและปกป้องสิ่งแวดล้อมผ่านกลไกของสิทธิชุมชน
-
มาตรา 67 ในรัฐธรรมนูญที่ให้มีองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อม เป็นเสมือนกลไกชิ้นใหม่ที่สร้างความหวังสำหรับประชาชนที่ต้องการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิชุมนุม แต่เมื่อรัฐบาลละเลยและพยายามบิดเบือนเจตนารมณ์ ภาคประชาชนจึงต้องช่วยกันผลักดันให้เกิดขึ้นจริง ก่อนที่โครงการใหญ่ๆ จะหลุดรอดไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
-
เอฟทีเอ ว็อทช์ ยื่นฟ้องประธานรัฐสภา ต่อศาลปกครองกลาง กรณีไม่รับร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ที่ประชาชนเสนอหมื่นรายชื่อ