-
ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ จะช่วยเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่รับการรักษากับบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งเป็นทางออกที่ดีในการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น
-
ทุกภาคส่วนในสังคมร่วมกันหารือ และแสดงความเห็นต่อ ร่าง พรบ.คุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้เสนอ เพื่อปรับปรุง ตัดแต่ง ให้กฎหมายฉบับนี้ออกมาใช้ได้จริง สมดังเจตนารมย์
-
นักวิชาการด้านสาธารณสุขชี้ ความผิดพลาดทางการแพทย์เกิดขึ้นได้ไม่ใช่เรื่องแปลก แทนที่จะเพ่งโทษหาแพะ ควรออกแบบระบบให้แก้ปัญหา
-
อีกหนึ่งประเด็นจากภาคประชาชน ที่กำลังเจอแรงต้านอย่างหนัก หลังมีข้อเสนอให้ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขได้รับการเยียวยาที่ทันต่อความเสียหาย ล่าสุดมีกลุ่มแพทย์ออกโรงค้านอย่างหนัก เกรงจะเสียกระบวนทำงาน
-
รายงานศึกษาที่ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า แม้จะไม่มีกฎอัยการศึก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และพ.ร.บ.ความมั่นคง ให้อำนาจรัฐในสถานการณ์พิเศษ รัฐก็ยังมีอำนาจตามกฎหมายอื่นๆ ที่ใช้กันอยู่แล้วในปัจจุบัน เพียงพอสำหรับจัดการกับภัยร้ายต่างๆ ได้
-
กฤษฎีกานำปรับร่างกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุขจนเปลี่ยนในเจตนารมณ์สำคัญ และเกิดเป็นกฎหมายแปลกประหลาดที่ไม่มีในโลกนี้ เพราะต้องออกกฎหมายมาสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หลักการสำคัญเดิมที่เน้นการชดเชยความเสียหายอย่างรวดเร็วหายไป เปลี่ยนมาเป็นการเพิ่มกระบวนการไกล่เกลี่ยแทน
-
เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนสามารถเข้าถึงยาที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม ภาคประชาชนเสนอแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติยา พระราชบัญญัติสิทธิบัตร และยกร่างกฎหมายใหม่ คือ พระราชบัญญัติการเข้าถึงยา
-
ในยุคนี้ผู้หญิงกับผู้ชายเท่าเทียมกันจริงหรือไม่ กฎเกณฑ์ กลไก เงื่อนไขอะไรบ้างที่ยังเป็นอุปสรรค ร่วมกันใช้วิธีการเสนอกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ เพื่อขจัดปัญหาการเลือกปฎิบัติแบบเดิมๆ
-
รถชน - บาดเจ็บ - กลัวเบิกไม่ได้ ทั้งที่มีประกันภัยอยู่แล้ว ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป เมื่อเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคร่วมกันเสนอระบบประกันภัยอุบัติเหตุทางรถยนต์แบบใหม่ ให้รัฐเข้ามาดูแลการจ่ายเงิน คนเจ็บจะได้รับการรักษาอย่างเท่าเทียม
-
หลังจากต้องดูหนังที่ถูก ตัด บัง เบลอ มายาวนาน เครือข่ายคนดูหนังขอเชิญชวนเพื่อนๆ มาเป็นฝ่าย “เฉือน หั่น เติม” กฎหมายภาพยนตร์ฉบับปัจจุบันดูบ้าง