Laws Monitoring

state agency's opinion on civil code amendment
เมื่อ 9 ก.พ. 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการ โดยจัดรับฟังความเห็นจากหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐแปดหน่วยงานที่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ขณะที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ความเห็นต่อครม. ว่าไม่สมควรรับหลักการ
The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao Bill
9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
parliament meeting
 6-10 มิ.ย. 2565 ฝ่ายนิติบัญญัติมีกำหนดนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่น่าจับตาหลายฉบับ อาทิ ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ #สมรสเท่าเทียม และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้ง 
fiscal year 2022
3 มิถุนายน 2565 เวลา 01.09 น. สภาผู้แทนราษฎรลงมติ “รับหลักการ” ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 278 เสียง ไม่เห็นด้วย 194 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง
fiscal year 2022
31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระการพิจารณาหนึ่งในกฎหมายสำคัญ คือ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ซึ่งตั้งวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีไว้ที่ 3,185,000 ล้านบาท (สามล้านหนึ่งแสนแปดหมื่นห้าพันล้านล้านบาท) เพิ่มจากปีงบประมาณ 2565 มา 85,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น 2.74% 
นับตั้งแต่วันที่ 23 ถึง 30 พฤษภาคม 2565 เป็นเวลาเกินกว่าหนึ่งสัปดาห์แล้ว ที่ภาคประชาชนจากภูมิภาคต่างๆ มารวมกันปักหลักที่หน้าอาคารสหประชาชาติบนถนนราชดำเนินนอกเพื่อเรียกร้องให้คณะรัฐมนตรียุติการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่ม  หรือในชื่อจริงว่า ร่างพระราชบัญญัติการดำเนินกิจกรรมขององค์กรไม่แสวงหากำไร พ.ศ. … หรือ NPO Bill (ร่าง พ.ร.บ.เอ็นพีโอ) เพราะหาก ครม. ผลักดันเข้าสู่สภาและผ่านเป็นกฎหมายจะก่อให้เกิด "ภัยใหญ่หลวง" ต่อการทำงานขององค์กรภาคประชาชน-ประชาสังคม 
ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง 10 ฉบับที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ใช้เทคนิคถ่วงเวลา ขอนำร่างกฎหมายไปศึกษาก่อน 60 วัน เช่น #สมรสเท่าเทียม #สุราก้าวหน้า ซึ่งร่างกฎหมายทั้ง 10 ฉบับนั้นยังต้องรอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะ “รับหลักการ” หรือไม่ 
Draft NPO Bill
กระทรวงพม. เปิดรับฟังความเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรฯ โดยสาระสำคัญของกฎหมาย คือ การวางมาตรการให้องค์กรภาคประชาชน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบสมาคม มูลนิธิ หรือคณะบุคคลต้องเปิดเผยข้อมูลให้รัฐและสาธารณชนเข้าถึง รวมถึงต้องไม่กระทำการอันกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดี และไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก เป็นต้น
political parties bill
25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติ “รับหลักการ” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองเพียงสามฉบับ คือร่างที่เสนอโดยครม. และร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคพลังประชารัฐสองฉบับ ขณะที่ร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคฝ่ายค้านสามฉบับ รัฐสภามีมติ “ไม่รับหลักการ” ทั้งหมด 
parliament pass bill on election of MP
24 กุมภาพันธ์ 2565 รัฐสภามีมติ "รับหลักการ" ร่างพ.ร.ป.เลือกตั้งส.ส. สี่ฉบับ ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการ #แก้รัฐธรรมนูญ ระบบเลือกตั้ง