การเลือกตั้งครั้งนี้หลายคนตั้งความหวังว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความก้าวหน้าด้วยปลายปากกาของประชาชน แต่ต้องไม่ลืมเหล่า “สมาชิกวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล” ที่มาจากการแต่งตั้งและยังคงถืออำนาจพิเศษซึ่งเป็นอุปสรรคใหญ่ที่อาจทำให้ผลการเลือกตั้งไม่เป็นไปดั่งใจหวัง
ไอลอว์รวบรวมคำให้สัมภาษณ์ของ ส.ว.ในช่วงใกล้การเลือกตั้ง เพื่อเป็นภาพสะท้อนของแนวคิด ส.ว.ว่าหลังเลือกตั้งจะลงคะแนนเสียงให้พรรคเสียงข้างมากหรือจะไม่ลงคะแนนจนนำมาสู่สภาวะทางตันทางการเมืองต่อไป
กรณีพบการกระทำความผิดเกี่ยวกับการเลือกตั้งส.ส. "ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง" "ผู้ลงสมัครเลือกตั้ง" หรือ "พรรคการเมือง" สามารถส่งเรื่องร้องเรียน ยื่นคำร้องไปยังสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดได้
การเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เต็มไปด้วยความกังวลของประชาชนว่า การนับคะแนน และการรายงานผลคะแนนจะเป็นไปโดยถูกต้องและโปร่งใสหรือไม่ กกต. ก็ไม่มีแนวโน้มว่า จะพัฒนาปรับปรุงการทำงานให้มีความพร้อมมากขึ้น ทำให้ประชาชนต้องร่วมใจสร้างระบบการรายงานผลคะแนนกันเอง โดยไม่อาจรอ กกต. ได้
เลือกตั้ง 66 มาพร้อมกับสโลแกน "เลือกคนที่รัก เลือกพรรคที่ชอบ" คะแนนของใบที่เลือกพรรคจะส่งผลต่อจำนวนที่นั่งของ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) โดยตรง ชวนส่องรายชื่อผู้สมัครปาร์ตี้ลิสต์ปี 2566 ของแต่ละพรรคว่าเป็นใครมาจากไหนกันบ้าง
อย่างที่ทราบกันดีว่า การมีส่วนร่วมในการโหวตเลือกนายกฯ ของ ส.ว. ชุดพิเศษ เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย เพราะ ส.ว.ทั้งหมดมาจากการแต่งตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นตัวแทนของประชาชน โดยในจำนวน ส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน มีตัวแทนจากผู้บัญชาการเหล่าทัพ 6 คน
การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตในประเทศไทย ใครได้คะแนนมากที่สุดในเขตก็เข้าป้ายได้เก้าอี้ ส.ส. ไปครอง ดังนั้น คะแนนก็อาจจะกระจายไปอยู่กับผู้สมัครหลายคน ทำให้ผลสุดท้ายผู้ชนะอาจจะ “เฉือน” อันดับสองไปไม่มาก
30 เมษายน 2566 เวลา 18.00 - 19.30 น. ที่ Kinjai Contemporary ในงาน Bangkok Through Poster ร่วมกับ iLaw จัดวงเสวนา “ทราบแล้วโหวต โหวตเพื่อเปลี่ยน : ยุทธศาสตร์และความหวังสำหรับประชาชนหลังการเลือกตั้ง” โดยตัวแทนจากภาคประชาชนพูดคุยถึงความเปลี่ยนแปลงและความคาดหวังหลังการเลือกตั้ง 2566
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ มาตรา 57 ระบุว่า ทุกนโยบายที่มีการใช้จ่ายเงิน ต้องทำเป็นรายการมาชี้แจงยัง กกต. ดังนี้:
30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย