Articles

why people like constitution of Thailand 1997
ย้อนกลับไปเมื่อ 12 ปีที่แล้ว วันที่ 11 ตุลาคม 2540 คือวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2540 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 16 ของประเทศไทย รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้นับการขนานนามว่าเป็น “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขณะที่หลังจากรัฐธรรมนูญ 2540 สิ้นสุดประเทศไทยก็มีรัฐธรรมนูญเพิ่มอีก 4 ฉบับ ปัจจุบันมีรัฐธรรมนูญ 2560 เป็นฉบับที่ 20
NCPO appointed 100 substitutions for Senator
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ไม่ได้เพียงแต่แต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จำนวน 250 คน ที่มีวาระ 5 ปี เท่านั้น แต่ยังได้แต่งตั้ง "ส.ว. สำรอง” ไว้อีกถึง 100 คน เผื่อไว้เมื่อมี “ส.ว. ตัวจริง" บางคนพ้นจากตำแหน่งไป โดยจัดทำ “บัญชีสำรอง ส.ว.” ขึ้นมา 2 บัญชีๆ ละ 50 คน บัญชีหนึ่งสำรองสำหรับ “ส.ว. กลุ่มอาชีพ 50 คน” และอีกบัญชีหนึ่งสำรอง “ส.ว. คณะสรรหา 194 คน” 
ประธานคณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) เข้ารับฟังปัญหาและแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญจากสมัชชาคนจน ที่มาปักหลักชุมนุมต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2562 ที่ด้านข้างคลองผดุงกรุงเกษม ฝั่งสหประชาชาติ   
ในงานศึกษาทางวิชาการและความเห็นของนักวิชาการ อย่าง รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต่างเห็นตรงกันว่า โครงสร้างของรัฐมีผลต่อการรักษาไว้ซึ่งความหลากหลาย จึงจำเป็นต้องมีการจัดวางโครงสร้างเสียใหม่ แต่ทว่า "มาตรา 1" ของรัฐธรรมนูญก็ทำลายจินตนาการต่อรูปแบบโครงสร้างของรัฐที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
Article 1 of the Constitution is hard to amend
ส.ส. ฝ่ายค้าน นักวิชาการ และภาคประชาสังคมรวม 12 คน ถูก กอ.รมน. แจ้งความข้อหา“ยุยงปลุกปั่น” ป. อาญา ม. 116 จากงานเสวนา "พลวัตรแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สู่นับหนึ่งรัฐธรรมนูญใหม่" จ. ปัตตานี ซึ่ง อ. ชลิตาพูดถึงการแก้มาตรา 1 ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญปี 60 ห้ามแก้มาตรา 1 อยู่แล้ว แต่การเห็นต่างเป็นเสรีภาพการแสดงออก
Civil society should take ownership of constitutional amendments
คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) จัดเสวนาเรื่อง"การปฏิรูปสังคม-เศรษฐกิจ-การเมืองไทย กับการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย" วงเสวนาชี้รัฐธรรมนูญปี 2560 มีปัญหาจำกัดสิทธิและลดอำนาจประชาชน การแก้ไขรัฐธรรมนูญนั้นทำควบคู่ไปกับแก้ไขปัญหาปากท้องได้ ส่วนภาคประชาชนต้องเป็นเจ้าของประเด็น
แฮชแท็ก #ขบวนเสด็จ ติดเทรนด์ในทวิตเตอร์ประเทศไทย และกระแสกำลังพุ่งขึ้นเรื่อยๆ ช่วงเที่ยงของวันที่ 2 ตุลาคม กลายเป็นเทรนอันดับหนึ่ง กว่า 250k ทวีต ทิ้งห่างเทรนด์อันอับสองกว่าสิบเท่าตัว   
power of senators
ส.ว. ชุดพิเศษ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มีอำนาจหน้าที่ไม่น้อยไปกว่าชุดก่อนๆ แถมอำนาจบางประการขถือเป็นมรดกที่ คสช. ได้วางเส้นทางการรักษาอำนาจเอาไว้ จึงเป็นภารกิจสำคัญของประชาชนทุกคนที่ต้องช่วยกัน และก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า คนกลุ่มนี้มีอำนาจที่ได้รับมอบหมายไว้อย่างไรบ้าง
Round-up The Parliament First Session-How did MPs and Senates do?
จบลงไปแล้วสำหรับการประชุมสภาสมัยแรก ส.ส. ได้ออกมาวาดลวดลายอภิปรายประเด็นปัญหาต่างๆ ในสภา บรรยากาศการเมืองที่เห็นได้ยากยิ่งในยุค คสช. สภาผู้แทนราษฎรได้พยายามอย่างยิ่งที่จะเล่นบทตรวจสอบรัฐบาลผ่านการตั้งกระทู้ถามและอภิปรายทั่วไปโดยไม่ลงมติ แต่ยังห่างไกลกับการทำหน้าที่นิติบัญญัติ เพราะออกกฎหมายสำเร็จเพียง 2 ฉบับเท่านั้น 
M44
มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 เปรียบเหมือนอำนาจเผด็จการล้นฟ้า หัวหน้า คสช. ใช้อำนาจตามมาตรา 44 กับกิจกรรมต่างๆ มากมาย ในปีสุดท้ายของ คสช. แม้มีการเลือกตั้งแล้วอำนาจนี้ก็ยังถูกนำมาใช้ ทั้งเรื่องรถไฟฟ้าสายสีเขียว แทรกแซง กสทช. และฉบับสุดท้าย คือ การยกเลิกประกาศคำสั่งก่อนหน้านี้ที่ไม่อยากใช้ต่อแล้ว