Articles

party dissolve
The arguments against Constitutional Court's decision to dissolve Future Forward Party: the 'Receiving the Donation Exceeding 10 Million' under Section 66 of political parties law does not contain the punishment of party dissolvement and cannot be linked with Section 72.
prayuth
แม้ พล.อ.ประยุทธ์ถอดใจลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ก็ใช่ว่า อนาคตการเมืองของไทยจะสดใสขึ้น เพราะรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ คสช. ร่างขึ้นนั้นได้วางกลไกเอาไว้ ไม่ให้ประเทศเดินหน้าตามระบอบประชาธิปไตยจากการเลือกตั้งได้โดยง่าย
Election System
ในระยะเวลา 20 ปี นอกจากจะมีรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังมีระบบเลือกตั้งถึง 4 แบบ จัดการเลือกตั้งที่นับผลจริงได้ 5 ครั้ง โดยเป็นพรรคการเมืองเดิมที่กวาดที่นั่ง ส.ส. ไปมากที่สุดทั้ง 5 รอบ ชวนดูเปรียบเทียบระบบเลือกตั้งทั้ง 4 แบบ และข้อดีข้อเสีย ก่อนจะต้องออกแบบกันใหม่อีกไม่รู้กี่รอบ
People TN
สถานการณ์ทางการเมืองต้นปี 2563 เกิดกระแสความไม่พอใจต่อการครองอำนาจแบบเผด็จการของรัฐบาล คสช.2 แผ่ขยายวงกว้างไปทั่ว ไอลอว์เสนอให้ผู้ที่กำลังทำกิจกรรมเรียกร้องประชาธิปไตยช่วยกันพิจารณาข้อเสนอเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญชุดนี้ ในฐานะหนทางหนึ่งที่จะกลับสู่ประชาธิปไตย 
Dissolvement
ความเห็นแย้งต่อคำวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่ ของศาลรัฐธรรมนูญ การ “รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ตามมาตรา 66 ของพ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง ไม่มีโทษฐานยุบพรรค และไม่สามารถนำมาตรา 72 มาตีความใช้คู่กันได้ ผิดเจตนารมณ์
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน พบ "ประธานศาลรัฐธรรมนูญ" วินิจฉัยเป็นคุณกับคสช.
ท่ามกลางกระแสความเห็นที่แตกต่างในข้อเท็จจริงของคดี ยุบพรรคอนาคตใหม่ จากกรณีกู้เงิน 'ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ' ว่าศาลสามารถตัดสินอย่างไรได้บ้าง อยากชวนทุกคนไปสำรวจที่มาและความคิดเห็นของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคนในการวินิจฉัยคดีทางการเมือง เพื่อให้เห็นทิศทางของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
26-2557
ประกาศ คสช. 26/2557 ที่ยังไม่ถูกยกเลิกไป โดย คสช. จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
เทียบ 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญ 2560 ชนะเลิศที่สุดแห่งการแก้ไขยาก
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 กำลังเป็นประเด็นที่คนสนใจ ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมากถึง 20 ฉบับ เราจึงทำการเปรียบเทียบการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่กำหนดหนดไว้ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับ เพื่อที่จะทำให้เห็นภาพรวมของ “กับดัก” รัฐธรรมนูญตลอดเส้นทางประชาธิปไตยของไทย 
รัฐธรรมนูญ 2560 ให้การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคเป็น “หน้าที่ของรัฐ” ตัดสิทธิของผู้บริโภคในการร้องเรียนและได้รับเยียวยาจากความเสียหายออก สิทธิของประชาชนในการรวมตัวจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคยังคงอยู่ แต่ไม่ถึงขั้นบังคับให้ต้องเกิดขึ้นให้ได้ 
Constitution 2017's Problem: Political party have less power over their MPs
รัฐธรรมนูญ 2560 ให้ ส.ส. สังกัดพรรคการเมือง แต่อีกด้านหนึ่งก็เปิดช่องให้ ส.ส. มีอิสระในการโหวตไม่ทำตามมติพรรค  และการย้ายพรรคของ ส.ส. ก็สามารถทำได้ไม่ยากนัก ทำให้พรรคการเมืองควบคุม ส.ส. ในสภาไม่ได้ และเกิดปรากฎการณ์ "ส.ส. งูเห่า" โหวตสวนมติพรรค