-
ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 4 ครั้งที่ 1 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) ซึ่งเริ่มตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2565 นั้น เป็นอีกหนึ่งสมัยการประชุมที่น่าจับตามอง เพราะยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง ...
-
ไอลอว์ติดตามจับตาการทำงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มาตลอดสองปีกว่า พบเห็นการทำงาน การออกกฎหมาย การลงมติ ที่น่าสนใจมากมาย และล่าสุดจากการค้นคว้าข้อมูลอย่างหนักในเว็บไซต์ ของสนช. ก็พบว่า มีสมาชิก สนช. อย่างน้อย 7 คน ...
-
นับตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม 2562 ที่ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 20 มกราคม 2564 มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ไปยังสภาผู้แทนราษฎร อย่างน้อย 77 ฉบับ ...
-
การประชุมประจำปี 2563 ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ TDRI จัดขึ้นเมื่อ 6 ตุลาคมที่ผ่านมา ในหัวข้อ แฮกระบบราชการ เปลี่ยนระบบปฏิบัติการประเทศ: จากบทเรียนการรับมือวิกฤติโควิด-19 สู่ความพร้อมรับมือความท้าทายในโลกใหม่ที่น่าเป็นห่วงก็คือ ...
-
ล่วงเลยมากกว่า 4 ปีที่ คสช. เข้ามาเป็นรัฐบาล พร้อมแต่งตั้งฝ่ายนิติบัญญัติ อย่างสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพื่อทำหน้าที่เห็นชอบกฎหมายออกบังคับใช้กับประชาชน ยิ่งในปัจจุบัน คสช. ไร้ฝ่ายค้านในการตรวจสอบกฎหมายต่างๆ ...
-
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. เป็นสภาที่มาจากการแต่งตั้งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) หน้าที่สำคัญคือ การออกกฎหมายให้กับรัฐบาล คสช. สี่ปีที่ผ่าน สนช. เห็นชอบกฎหมายไปแล้วอย่างน้อย 298 ฉบับ ซึ่งกฎหมายจำนวนหนึ่งมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คสช. ...
-
กว่าสามปีที่ถืออำนาจการปกครองอยู่ในมือแบบเบ็ดเสร็จ คสช. อาศัยฐานะผู้ปกครองสูงสุด และอาศัยอำนาจรัฐธรรมนูญ 2557 (ฉบับชั่วคราว) ออกประกาศและคำสั่ง คสช. และใช้อำนาจมาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ...
-
เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์หนึ่งสัปดาห์เล็กน้อย หลังจากที่เข้ามาเป็นรัฐบาลจากการรัฐประหารยึดอำนาจไปจากรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ...
-
โดย อาร์ม ตั้งนิรันดรภาพประกอบจาก www.popularresistance.orgเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ในงานสัมมนาที่มีนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำร่วมพูดคุยทิศทางประเทศไทย (ดูลิงค์นี้) ผู้ดำเนินรายการคือคุณภิญโญ ได้ถามคำถามสุดท้ายก่อนปิดรายการว่า ...
-
การเข้าชื่อของประชาชนเพื่อเสนอกฎหมาย เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ประชาชนมีส่วนร่วมทางตรงได้ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย ประเทศไทยกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณาได้โดยรับรองไว้ตั้งแต่รัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 แต่จนปัจจุบันผ่านมา14 ...