-
21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ซึ่งมีใจความหลักสำคัญการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) ที่ใช้บังคับอยู่ ...
-
กฎหมายไทยในปัจจุบัน ยังรับรองสิทธิ-สถานะของบุคคล โดยยึดจากเพศภายใต้กรอบสองเพศ คือ ชาย-หญิง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นการรับรองสิทธิ-สถานะในกฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายแพ่งเรื่องการสมรส การกำหนดคำนำหน้านาม ...
-
กฎหมายไทยในปัจจุบัน ยังรับรองสิทธิ-สถานะของบุคคล โดยยึดจากเพศภายใต้กรอบสองเพศ คือ ชาย-หญิง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นการรับรองสิทธิ-สถานะในกฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายแพ่งเรื่องการสมรส การกำหนดคำนำหน้านาม ...
-
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2566 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ รับหลักการ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม จำนวนสี่ฉบับในวาระหนึ่ง ด้วยคะแนนเสียง เห็นด้วย 369 เสียง ไม่เห็นด้วย 10 เสียง งดออกเสียง 0 เสียง ...
-
วันที่ 21 ธันวาคม 2566 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ซึ่งมีใจความหลักสำคัญการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) ที่ใช้บังคับอยู่ ...
-
ในเดือนมิถุนายน อันเป็นเดือนแห่งความภาคภูมิใจ (Pride Month) ของปี 2565 ความพยายามผลักดันการแก้ไขกฎหมายแพ่งที่ใช้บังคับอยู่ เพื่อรับรอง #สมรสเท่าเทียม เริ่มเห็นความเคลื่อนไหวอยู่บ้าง เมื่อ 15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎร ...
-
ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 13 ธันวาคม 2566 อันเป็นวันแรกของสมัยประชุมครั้งที่สองของรัฐสภาชุดนี้ ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล สส.พรรคก้าวไกล เสนอขอเปลี่ยนระบบวาระการประชุมสภา โดยเลื่อนวาระพิจารณา ...
-
หลังจากพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตนายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภา ตามหลักการในรัฐธรรมนูญ 2560 กำหนดว่า กรณีอายุสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดหรือมีการยุบสภา บรรดาร่างกฎหมายที่ยังพิจารณาไม่แล้วเสร็จทุกกระบวนการ รัฐสภายังไม่ได้ให้ความเห็นชอบ (ในวาระสาม) ...
-
เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น. ภาคีองค์กรด้านสิทธิและความหลากหลายทางเพศกว่า 33 องค์กร รวมตัวกันในนาม คณะทำงานเครือข่ายสิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566 (LGBTIQNA+ Civil Rights Network for Political Party Policy ...
-
โดยหลักแล้วกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั่วไป จะต้องผ่านการพิจารณาโดยสภาผู้แทนราษฎรสามวาระ และส่งต่อให้วุฒิสภาพิจารณาอีกสามวาระ หากวุฒิสภา เห็นชอบ ร่างกฎหมายนั้นในวาระสาม นายกรัฐมนตรีก็จะต้องนำร่างกฎหมายนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ...