-
เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น. ภาคีองค์กรด้านสิทธิและความหลากหลายทางเพศกว่า 33 องค์กร รวมตัวกันในนาม คณะทำงานเครือข่ายสิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566 (LGBTIQNA+ Civil Rights Network for Political Party Policy ...
-
โดยหลักแล้วกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั่วไป จะต้องผ่านการพิจารณาโดยสภาผู้แทนราษฎรสามวาระ และส่งต่อให้วุฒิสภาพิจารณาอีกสามวาระ หากวุฒิสภา เห็นชอบ ร่างกฎหมายนั้นในวาระสาม นายกรัฐมนตรีก็จะต้องนำร่างกฎหมายนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ...
-
การอยู่ร่วมครอบครัวเป็น ผัวเมีย ของคนไทยในยุครัตนโกสินทร์ พระอัยการลักษณะผัวเมียกฎหมายตราสามดวง ยอมรับการก่อตั้งครอบครัวแบบ ผัวเดียวหลายเมีย ผู้ชายสามารถมีเมียหลายคนได้ และเมียมีหลายลำดับชั้น ในทางตรงกันข้าม ผู้หญิงไม่สามารถมีผัวหลายคนได้ ...
-
เดือนมิถุนายนถูกกำหนดให้เป็นเดือนแห่งความภาคภูมิใจ (Pride Month) ของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศซึ่งมีประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมในแทบทุกพื้นที่ทั่วโลก แต่จนถึงทุกวันนี้แม้แต่เรื่องพื้นฐานของชีวิตอย่างการมี ครอบครัว ...
-
2 สิงหาคม 2556ภาควิชากฎหมายแพ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนาโต๊ะกลมเรื่อง คู่รัก LGBT ภายใต้ระบบกฎหมายไทย อัครวัฒน์ เลาวัณย์ศิริ ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของงานครั้งนี้ว่า ...
-
19 เม.ย. 56 คณะกรรมาธิการการยุติธรรม การกฏหมาย และสิทธิมนุษยชน จัดงานเสวนา ความหลากหลายทางเพศกับกฎหมายการจดทะเบียนคู่ชีวิตของไทย เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง พ.ร.บ.การจดทะเบียนคู่ชีวิต ซึ่งมีสาระสำคัญเพื่อรับรองสถานะความหลากหลายทางเพศ ...
-
รอบตัวเรามีคู่รักที่ใช้ชีวิตร่วมกันเป็นครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นคู่รักหญิงชาย คู่รักหญิงหญิง คู่รักชายชาย ฯลฯ ความแตกต่างอยู่ที่คู่รักหญิงชายมีทางเลือกว่าจะใช้ชีวิตแบบ จด ทะเบียนสมรส หรือ ไม่จด ทะเบียนสมรส ขณะที่คนรักเพศเดียวกันยังไม่มีโอกาสเลือก ...