-
#ทวงคืนสถานการณ์ปกติ #ปลดอาวุธคสช.การเข้าชื่อเสนอกฏหมาย ต่างจากการลงชื่อเพื่อร่วมกันแสดงพลังหรือเรียกร้องในประเด็นต่างๆ เช่น การลงชื่อในจดหมายเปิดผนึก หรือการลงชื่อในเว็บไซต์ change.orgการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ...
-
การเข้าชื่อเพื่อเสนอกฎหมาย เป็นสิทธิที่รัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 133(3) กำหนดไว้ ให้ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองในการกำหนดอนาคตของตนเองและประเทศ โดยการเข้าชื่อกันให้ครบ 10,000 ชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายระดับพระราชบัญญัติให้รัฐสภานำไปพิจารณาได้ ...
-
การชุมนุมทางการเมืองถือเป็นสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย การออกมาบนท้องถนนเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะส่งเสียงให้ปัญหาความเดือดร้อนเป็นที่รับรู้ของสังคมและกระตุ้นให้ทุกฝ่ายช่วยกันแก้ไข แต่ตลอดการปกครองของรัฐบาล คสช. ...
-
การเลือกตั้ง ทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่นห่างหายจากประเทศไทยนานกว่าสี่ปีแล้ว ตั้งแต่คสช. ยึดอำนาจ ...
-
รัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้มาตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน 2560 เป็นเวลานานกว่าหนึ่งปีแล้ว แม้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับนี้จะมีปัญหาสารพัดที่หลายคนไม่เห็นด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่มาของร่างรัฐธรรมนูญที่เกิดจากคณะรัฐประหาร กระบวนการร่างที่ขาดการมีส่วนร่วม ...
-
รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน ประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน 2560 รัฐธรรมนูญฉบับนี้รับรองสิทธิของประชาชนไว้มากมาย มีสิทธิในหลายประเด็นที่ได้รับการรับรองไว้ไม่ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ เพียงแต่บรรยากาศและแนวทางการปกครองของรัฐบาลทหาร ...
-
เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ เท่ากับเป็นการเริ่มต้นอีกครั้งของ สิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยประชาชน หลังจากสิทธินี้ถูกระงับไปกว่าสามปีที่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญกำหนดรายละเอียดให้เปลี่ยนไปเล็กน้อย ส่วนสาระสำคัญยังเหมือนเดิม คือ ...
-
สิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญ 2540 และ 2550 แต่ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2550 ระหว่างที่รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ...
-
5 ต.ค. 56 คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย จัดงานเสวนาหัวข้อ บทเรียน 16 ปี สิทธิประชาธิปไตยทางตรงในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน ณ ห้องแอลที 1 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ...
-
หลังจากรัฐสภาลงมติไม่รับหลักการ ไม่รับหลักการ ร่างพ.ร.บ.ประกันสังคม ฉบับขบวนการแรงงาน ไปเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2556 แต่กลับลงมติรับหลักการร่างฉบับที่รัฐบาลและส.ส.พรรคเพื่อไทยเสนอ ...