-
วันที่ 24 ตุลาคม 2556 ศาลฎีกานัดฟังคำพิพากษาคดีการชุมนุมปิดถนนพลหโยธินเพื่อคัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและบ่อบำบัดขยะที่ศาลจังหวัดสระบุรี โดยศาลฎีกามีคำพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์ให้ลงโทษนายคูณทวี ภาวรรณ์ นายตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี และนางสาววัชรี ...
-
พลันที่ร่าง พ.ร.บ. ว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้เผยโฉมออกมา เสียงวิพากษ์วิจารณ์ก็ดังขึ้นเซ็งแซ่ ว่าจะนำไปสู่การจำกัดการทำงานของศิลปิน และกำหนดบทลงโทษแก่ผู้ที่ดัดแปลงมรดกทางวัฒนธรรม ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย ...
-
5พฤศจิกายน2556โครงการติดตามนโยบายสื่อและโทรคมนาคม หรือNBTC Policy Watchนำเสนอรายงานในหัวข้อ การใช้ทรัพยากรของหน่วยงานกำกับดูแล:กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศ ที่สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย โดยดร.พรเทพ เบญญาอภิกุล ...
-
สัปดาห์นี้ใครๆ ก็พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องออกมาคัดค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม หลายคนตัดสินใจออกมาชุมนุมกับกลุ่มต่างๆ มีไม่น้อยที่แสดงออกผ่านทางโซเชียลมีเดียโดยเปลี่ยนภาพในเฟซบุคขึ้นข้อความ คัดค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม บรรยากาศการเมืองในจังหวะนี้ ...
-
เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2556 มูลนิธิอิสรชนและบ้านมิตรไมตรี (กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)ร่วมกันจัดมหกรรมวันผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือ Homeless Day ที่บริเวณสวนหย่อมหลังพระแม่ธรณีบีบมวยผม (คลองหลอด) ...
-
หลังจาก คณะรัฐมนตรีมีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ที่เสนอโดยกระทรวงวัฒนธรรม ทำให้เกิดปฏิกิริยาจากสังคมอย่างกว้างขวางซึ่งโดยส่วนใหญ่ที่มีลักษณะต่อต้าน คัดค้าน ...
-
ที่มาของผู้ปกครองคณะสงฆ์ไทยตาม พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 คณะสงฆ์ไทยถูกปกครองโดย มหาเถรสมาคม ภายใต้การบังคับบัญชาของ สมเด็จพระสังฆราช โดยทั้งคู่มีอำนาจในการออกกฎเกณฑ์ กติกา ...
-
โดย กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอ ว็อทช์)ตามที่การประชุมของรัฐสภาได้ลงมติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม โดยเสียงข้างมากแก้ไขเนื้อหาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ม.190 โดยมีสาระการแก้ไขที่สำคัญ คือ1. ...
-
10 ตุลาคม 2556 สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จัดเสวนา เสรีภาพสื่อ VS การใช้กฎหมายกำกับดูแล ที่โรงแรมเซ็นจูรี่พาร์ค เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับร่างประกาศ กสทช. ...
-
หลังจากที่ประเทศไทยลงนามและให้สัตยาบันในอนุสัญญาการต่อต้านทรมานฯเมื่อปี 2550 (CAT) ประเทศไทยมีหน้าที่ต้องดำเนินการแก้ไขด้านบริหาร ตุลาการ และนิติบัญญัติเพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญา เช่น การบัญญัติให้การทรมานเป็นความผิดตามกฎหมายในประเทศ ...