-
ท่ามกลางการส่งสัญญาณความพร้อมเข้าสู่สนามเลือกตั้งของผู้ลงสมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลากหน้าหลายตา ในท้ายที่สุดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2565 ...
-
ศาลปกครองสูงสุดมีคำวินิจฉัยยกฟ้องคดี ให้เพิกถอนประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เรื่องการแบ่งเขตเลือกตั้ง กรุงเทพมหานคร สกลนคร และสุโขทัย ทำให้การเลือกตั้งยังคงเดินหน้าต่อไปได้ ...
-
ในระหว่างที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติครองอำนาจ เป้าหมายหลักที่ต้อง คุมให้อยู่ หนีไม่พ้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาแม้ คสช. จะไม่มีอยู่แล้วในการเลือกตั้ง 22 พฤษภาคมที่จะถึงนี้ แต่ก็ยังมรดกของคณะรัฐประหารหลงเหลืออยู่ ...
-
ในการบริหารตั้งแต่ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไปจนถึงการบริหารระดับประเทศ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า งบประมาณ คือหนึ่งในเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาท้องถิ่นหรือรัฐให้ไปข้างหน้า สวัสดิการ หรือแม้แต่โครงสร้างพื้นฐาน ...
-
แม้ว่าประเทศไทยจะมีการเลือกตั้งผู้ปกครองประเทศมาตั้งแต่ปี 2476 แต่การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าฯ กทม.) เริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2518 และมีมาแล้ว 10 ครั้ง เมื่อรวมกับการเลือกตั้งวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ก็จะเป็นการเลือกตั้งผู้ว่าฯ ...
-
แม้ว่าสปอตไลต์ในพื้นที่ข่าวจะสาดส่องไปที่เหล่าผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมากหน้าหลายตา แต่เมื่อคูหาเปิดในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 นี้ อีกหนึ่งตำแหน่งที่ชาวกทม. จะได้เลือกก็คือสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) ...
-
เป็นเวลากว่าแปดปีแล้วที่กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รูปแบบพิเศษห่างหายจากบรรยากาศการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อปี 2556 ได้ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ...
-
ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในหกกฎหมายที่รัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กำลังจัดทำเพื่อนำไปสู่การเลือกตั้งท้องถิ่นที่ที่ยังไม่มีความแน่นอนว่าจะเกิดก่อนหรือหลังการเลือกตั้งระดับชาติที่จะเกิดขึ้นในปี 2562 ทั้งนี้ ร่าง ...