Articles

Labor TN
สถานการณ์ไวรัส #โควิด-19 มาพร้อมกับปัญหาเศรษฐกิจ การปรับลดพนักงาน หรือ "ไล่ออก" ในมุมของลูกจ้างกระทบต่อความมั่นคงในชีวิตอย่างมาก พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ให้ความคุ้มครองกับลูกจ้างกรณีที่ถูกไล่ออก ต้องได้รับค่าชดเชย อย่างน้อยเพื่อที่จะยังประคองชีวิตอยู่ได้ระหว่างการหางานใหม่
ส.ว. กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง
ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดย คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว. ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง                   
prison
การใช้มาตรการรักษาระยะห่างทางสังคมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ#Covid19 ดูจะเป็นไปได้ยากในเรือนจำไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเองก็ยอมรับว่าหากมีการแพร่ระบาดของโรคในเรือนจำก็จะบริหารจัดการได้ยาก การลดจำนวนผู้ต้องขังทั้งระบบโดยมีเงื่อนไขและมาตรการด้านความปลอดภัยรองรับอาจเป็นหนึ่งในทางเลือกที่ควรถูกหยิบยกมาพิจารณาในห้วงเวลานี้ 
การแพร่ระบาดของโควิด 19 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ได้สร้างผลกระทบอย่างใหญ่หลวงให้กับโลก ไม่ว่าจะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ดังนั้น การรับมือสถานการณ์วิกฤติรัฐต้องมีความเพียบพร้อมในการใช้เงินงบประมาณแก้ปัญหา แต่เนื่องจากการใช้งบประมาณต้องตราเป็นกฎหมายไว้ล่วงหน้าซึ่งอาจไม่ทันกาลกับวิกฤติ ดังนั้น รัฐธรรมนูญ และกฎหมายงบประมาณจึงมีมาตรการอื่นๆ ให้รัฐบาลสามารถเลือกใช้ได้
Emergency Power
25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือ กำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย
One year election
การเลือกตั้งผ่านไปแล้วหนึ่งปีเต็ม ฝากริ้วรอยที่ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นไว้มากมาย แต่เราก็ยังไม่เคยเห็นกรรมการ กกต. ทั้ง 7 คน ออกมาสื่อสารอะไรกับประชาชนเลย เสมือนหนึ่งว่า ความไว้เนื้อเชื่อใจจากประชาชนไม่ใช่ปัจจัยหลักในการวัดผลการทำงานของพวกเขา 
4 Model of Constitution Drafting Assembly
ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่า ยังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ไม่กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนว่า จะตัดสิทธิเลือกตั้งได้นานเท่าใดทำให้เกิดการตีความ จนกระทั่งกรรมการบริหารพรรคการเมืองถูกเพิกถอนสิทธิรับสมัครเลือกตั้งตลอดชีวิตก็เป็นได้ ประเด็นนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบันเห็นได้จากแนวทางการวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในคดียุบพรรคอนาคตใหม่ที่ยังไม่เป็นเอกฉันท์
Labour Right Weak Not Guarantee Minimum wage across country
ผู้ใช้แรงงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศย่อมได้รับการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้ข้อความว่าให้แรงงานได้รับค่าแรงที่ “เหมาะสมแก่การดำรงชีพ” จากเดิม รัฐธรรมนูญ 2550 ระบุว่า “เป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ” ทำให้ ค่าแรงในแต่ละพื้นที่อาจไม่เท่ากันก็ได้  
เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 อุดม คชินทร สมาชิกชิกวุฒิสภา หมายเลข 245 ได้ลาออกจากการเป็น ส.ว. เนื่องจากต้องการไปรับตำแหน่งประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คนที่จะถูกแต่งตั้งขึ้นมาแทนคือ ประสิทธิ ปทุมารักษ์ ผู้มีรายชื่อในบัญชีสำรองแบบที่ คสช. สรรหา ลำดับที่ 3