เราทราบว่า ชื่อของเนวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ เป็นผู้ที่ยึดมั่นในหลักการและลงมติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญมาทุกครั้ง เราจึงเขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อขอโอกาสในการอธิบายข้อกฎหมายกับท่านให้แจ่มชัดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง และหวังว่าท่านจะลงมติตามหลักการ “ปิดสวิตช์ส.ว.” ที่ท่านยังคงยึดถืออย่างมั่นคงและงดงามนั้นเอง
13 กรกฎาคม 2566 วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 จากการที่มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนและให้สัมภาษณ์โดยอ้างหลักการต่างๆ เป็นไปตามสมควรว่าจะลงคะแนนเสียงเป็นไปตามมติมหาชน สนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันนี้ ‘กลับลำ’ พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ ‘หายตัว’ ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้ในอดีต
13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จำดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.
ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็ม 16 และพล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณและพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ใช่เรื่องราวขำขัน หากเป็นโศกนาฏกรรมที่ผ่านมาแล้ว 13 ปี ยังไม่สามารถนำตัวผู้กระทำความรุนแรงจากฝ่ายรัฐมาลงโทษได้
ช่วงเวลาสี่ปีของสภาที่ผ่านมา ประเด็นการตัดอำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง แม้แต่อดีตพรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย พรรคประชาธิปัตย์ ก็เคยยกมือปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้วถึงสามครั้ง รวมถึงเคยเสนอร่างเพื่อตัดอำนาจ ส.ว. ของตนเองด้วย
ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพ ส.ส.ของพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อและแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี "หาก"ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ไม่มีผลต่อการเสนอชื่อเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี
ใกล้ถึงวันนัดชี้ชะตาประเทศว่าจะได้เดินหน้าต่อภายใต้การนำของแคนดิเดตนายกฯ จากพรรคอันดับ 1 หรือไม่ ปฏิกิริยามากมายออกมาจากฝั่ง ส.ว. ซึ่งมีหลายคนที่แสดงจุดยืนส่วนตัวแตกต่างกันไป ชวนเช็คความเห็นส.ว.ตัวแปรสำคัญอีกครั้งก่อนโหวตนายกฯ
8 กรกฎาคม 2566 เครือข่ายรณรงค์รัฐธรรมนูญ (Constitution Advocacy Alliance) จัดกิจกรรม “Con Next: ออกจากกะลาไปหารัฐธรรมนูญใหม่” มีการเชิญตัวแทนจากพรรคการเมืองเข้าร่วมแสดงความเห็นต่อบทบาทของรัฐสภาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และปิดท้ายด้วยการทำบันทึกข้อตกลงร่วมต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยประชาชน
6 ก.ค. 2566 เครือข่าย Respect My Vote จัดงานเสวนา “เคารพผลเลือกตั้ง ฟังเสียงประชาชน” เพื่อพูดคุยถึงสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในวันเลือกนายกฯ รวมถึงเรียกร้องให้ ส.ส และส.ว. เคารพผลการเลือกตั้ง ด้วยการสนับสนุนแคนดิเดตนายกฯ ที่ได้รับเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฏร
เพื่อรักษาหลักการประชาธิปไตย ประเทศไทย ณ ขณะนี้จึงเหลือทางออกเพียงสามทางเท่านั้นที่จะทำให้เสียงของประชาชนหลังการเลือกตั้งมีความหมาย โดยตั้งแต่วันนี้จนถึงวันลงเสียงเลือกนายกรัฐมนตรียังมีวิธีรักษาหลักการได้ดังต่อไปนี้