Articles

272 filibuster
นับตั้งแต่สภาที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำงานในปี 2562 มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 เพื่อยกเลิกอำนาจสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ที่มาจากการแต่งตั้งในการเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) แต่ไม่ได้ความเห็นชอบถึงหกครั้ง แต่รู้หรือไม่ว่า มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อีกสองครั้งที่ “ไม่ได้โหวต” เสียด้วยซ้ำในสภา
Parliament
4 ส.ค. 66 ประชุมร่วมรัฐสภาล่มตั้งแต่เช้า แม้ยังไม่ได้ผลสรุปว่าจะดำเนินไปทิศทางไหนแต่ วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา ก็สั่งเลื่อนและจบการประชุมคราวนี้ทันทีท่ามกลางความงุนงงของทุกฝ่ายโดยอาศัยอำนาจข้อบังคับประชุมรัฐสภา ข้อ 22
วันที่ 4 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีการนัดประชุมร่วมรัฐสภา เพื่อพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อย่างไรก็ตาม มีการเสนอญัตติด่วนให้สภาทบทวนมติเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีซ้ำ แต่หลังจากการอภิปรายของสมาชิก ประธานก็สั่งให้มีการปิดประชุมก่อนการลงมติ
Try to disband Act 272
หลังจาก วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา เลื่อนวันลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีออกไปจากวันที่ 4 สิงหาคม 2566 ทว่าหนึ่งในระเบียบวาระการประชุมรัฐสภาที่ยังเหลืออยู่บรรจุวาระที่ระบุว่า รัฐสภาจะถกเถียงกันเพื่อลงมติเรื่องการ "ปิดสวิทช์ ส.ว." หรือ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อยกเลิกมาตรา 272 ที่เปิดช่องให้สมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. ซึ่งมาจากการแต่งตั้งมีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ ส.ส. อยู่เช่นเดิม อย่างไรก็ตาม การ “ปิดสวิตช์ ส.ว." เช่นนี้ไม่ใช่เพิ่งมีครั้งแรก แต่เคยถูกพยายามมาแล้วถึงหกครั้งหลังมีรัฐธรรมนูญ 2560 โดยที่ผ่านมามีทั้งความพยายามจากภาคประชาชน จากพรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมไปถึงพรรคการเมืองที่ร่วมรัฐบาลกับพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งยิ่งชี้ให้เห็นถึงความยากลำบากในการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน และยังแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นที่หลายฝ่ายยังพยายามอย่างไม่จบสิ้นที่จะนำ ส.ว. ออกจากสมการการเลือกนายกรัฐมนตรี
constitution amendments policy
ประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญเคยถูกนำเสนอเป็นหนึ่งในนโยบายที่สำคัญในการเลือกตั้ง 66 หรือแม้จะไม่เป็นนโยบายแต่หลายพรรคก็เคยมีการพูดถึงและเคยมีความพยายามเสนอร่างแก้ไขมาก่อนหน้า
ect meeting
วีวอทช์ (We Watch) และเครือข่ายประชาชนสังเกตการณ์การเลือกตั้งเดินทางมาพูดคุยและยื่นหนังสือข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกกต. เพื่อเป็นแนวทางพัฒนากระบวนการเลือกตั้งครั้งต่อๆ ไปให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสมากยิ่งขึ้น
ไม่ว่าจะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่สิ่งที่รัฐบาลใหม่สามารถทำได้ในสภาวะไม่ปกติคือการเริ่มกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่และคืนอำนาจให้ประชาชนทันทีที่เงื่อนไขของ สว. หายไปจากสมการ เพื่อให้ประชาชนได้แสดงเจตจำนงอีกครั้งในสนามที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
250 senate quote
19 ก.ค.66 สว.เสรี สุวรรณภานนท์ อภิปรายระหว่างการพิจารณาญัตติเสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ คนเดิมเป็นการเสนอญัตติซ้ำหรือไม่ โดยคำกล่าวอ้างสนับสนุนมีจุดที่ไม่ถูกต้อง "3 ชื่อบัญชีแคนดิเดตนายกฯ ไม่ได้มีเพื่อบังคับพิจารณาชื่อหนึ่งคนหนึ่งครั้ง"
Thailand's 2017 constitution make election winners losing
เครื่องมือสืบทอดอำนาจของ คสช. อย่างรัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจโดยเฉพาะมาตรา 272 ที่ให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ ส.ส. ได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
MP Salary
ในช่วงหาเสียงเหล่านักการเมืองทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่มักใช้ข้อความในทำนองว่า ‘อาสารับใช้ประชาชน’ แต่อย่างไรเสีย การเข้าสภาไปทำหน้าที่ สส.ไม่ใช่งานจิตอาสา ค่าตอบแทนน้ำพักน้ำแรงของคนเหล่านี้ล้วนมาจากภาษีของประชาชนทั่วประเทศที่ฝากความหวังไว้