-
กลุ่มครูและผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ใช้ช่องทาง 10,000 ชื่อ เสนอแก้พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 จนสำเร็จ กฎหมายนี้ถูกแก้ไขจริง ตามข้อเสนอของประชาชน แต่บางส่วนก็เอาหลักการมาปรับเปลี่ยน บางส่วนยังไม่ถูกแก้ไข กฎหมายฉบับนี้มีทั้งก้าวที่สำเร็จสมบูรณ์และมีบางก้าวที่ยังไปไม่ถึง
-
กฎหมายที่หมอ และบุคลากรด้านสาธารณสุข เสนอแข่งกับ กฎหมายที่ผู้ป่วยเสนอ ด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ หาทางเยียวยาผู้ได้รับผิดกระทบการการแพทย์ที่ผิดพลาด และลดปัญหาการฟ้องร้อง
-
ตารางแสดงภาพรวมประวัติการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของภาคประชาชน ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ให้สิทธินี้กับคนไทย มีฉบับไหนบ้าง? สำเร็จหรือไม่? เพียงไร?
-
ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ จะคุ้มครองทั้งสัตว์เลี้ยงในบ้าน สัตว์จรจัด และสัตว์อื่นๆ ทุกประเภท ให้มีสวัสดิภาพตามแต่ชนิดของสัตว์ พร้อมบทลงโทษคนทอดทิ้งสัตว์ เอาใจคนรักสุนัขรักแมว
-
คณะรณรงค์แก้ไขมาตรา112 เดินหน้าล่าชื่อประชาชนให้ครบ 10,000 ชื่อ เพื่อนำข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา112 ของคณะนิติราษฎร์ เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา
-
กำหนดให้สมาชิกอบต.ในแต่ละหมู่บ้านมีสัดส่วนหญิงชายอย่างละเท่าๆ กัน ในกรณีที่หมู่บ้านนั้นๆ มีจำนวนสมาชิกเป็นเลขคี่ก็กำหนดให้มีเพศใดเพศหนึ่งไม่เกินสองในสาม
-
รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีองค์การอิสระเพื่อผู้บริโภคมากว่าสิบปีแล้ว ผู้บริโภคทั้งผลักทั้งดัน ทั้งร่างกฎหมายมาเข้าชื่อเสนอกันเอง โดยหวังว่าจะมีองค์กรช่วยเหลือดูแลแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ
-
เมื่อโลกอยู่ในยุคที่อธิปไตยเหลือน้อยลงทุกที จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกฎหมายว่าด้วยการจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่มีการกำหนดกรอบอำนาจรัฐและรับรองสิทธิของประชาชนต่อการกระทำสัญญาระหว่างประเทศ ตามรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 190
-
เครือข่ายภาคประชาชนกว่าสิบองค์กรรวมตัวหน้าทำเนียบยื่นจดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ผลักดันร่างกฎหมายประชาชน 9 ฉบับ ก่อนหมดสมัยการประชุมสภาครั้งแรกในอีก 17 วัน
-
สิบกว่าปีมาแล้วที่รัฐธรรมนูญเปิดช่องให้ประชาชนเขียนกฎหมายได้เอง ภาคประชาสังคมก็กระตือรือล้นในการมีส่วนร่วมนี้ แต่จนวันนี้ก็ยังไม่มีกฎหมายใดที่มาจากการผลักดันของประชาชนหมื่นชื่อเลยแม้สักฉบับเดียว