-
21 สิงหาคม 2564 เวลา 20.00 - 22.00 น. กลุ่มนักกฎหมายจากหลายสถาบันเพื่อส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน หรือ Nitihub จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?) ผ่านช่องทาง Clubhouse Nitihub ...
-
15 ตุลาคม 2563 เวลา 4.00 น. พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรมว.กลาโหม ได้ออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการใช้อำนาจ ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ...
-
เมื่อวันที่ 20 เม.ย.54 ศูนย์ประสานงานเครือข่ายประชาชน ซึ่งมาจากการรวมตัวกันของ 38 องค์กร อันได้แก่เครือข่ายแรงงาน เครือข่ายเกษตรกร องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรนิสิตนักศึกษา และองค์กรเยาวชน รวมตัวกันหน้ารัฐสภา ประมาณ 200 คน ...
-
ในงานเสวนาทางวิชาการ เรื่อง พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ดุลยภาพระหว่างความสงบเรียบร้อยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน เมื่อวันที่ 8 พ.ค.53 ที่คณะนิติศาสตร์ มธ. ...
-
บทเรียนจากเหตุการณ์เดือนตุลาคมปี 2516 ปี 2519 และพฤษภาคม 2535 สอนให้สังคมไทยรู้ว่า การที่รัฐใช้ความรุนแรงเข้าปราบปรามการชุมนุมของประชาชนเป็นการกระทำที่ยอมรับไม่ได้ ...
-
เมื่อเวลา 13.30 น. วันที่ 6 ต.ค. 52 นายปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่า ที่ประชุมครม.เห็นชอบในหลักการร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ ...
-
การสลายการชุมนุม จะต้องมีมาตรฐานและขั้นตอนที่ชัดเจน และปฏิบัติการโดยเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่และความเชี่ยวชาญในการสลายการชุมนุมโดยเฉพาะ
-
การพิจารณาการสลายการชุมนุม จะต้องมีมาตรฐานที่ชัดเจนของเงื่อนไขในการสลายการชุมนุม
-
มีมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยจากกลุ่มคนที่อาจจะเข้ามาทำร้ายผู้ชุมนุม เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการชุมนุม หรือ ผู้ที่แฝงตัวเข้ามาเพื่อก่อความวุ่นวายในกลุ่มผู้ชุมนุม
-
ก่อนการชุมนุม มีตัวแทนผู้ชุมนุมประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ซึ่งเจ้าหน้าที่จะต้องอำนวยความสะดวกต่างๆ อาทิ บริการรถสุขา