การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของรัฐบาลพม่าที่กระทำต่อชาวโรฮิงญาส่งผลให้เกิดการอพยพของชาวโรฮิงญาจำนวนหลายแสนคน โดยที่รัฐบาลพม่ายังไม่มีท่าทีที่จะทุเลาหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว หลายฝ่ายจึงพยายามเสนอหนทางในการแก้ไขปัญหานี้ เช่น นักวิชาการและภาคประชาสังคม เป็นต้น
เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ แสดงความคิดเห็นกรณีรัฐบาลเผด็จการทหาร คสช. ใช้อำนาจตามมาตรา ๔๔ ปิดกิจการเหมืองแร่ทองคำ ของบริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน) ผู้ร่วมทุนรายใหญ่จากประเทศออสเตรเลีย
ไอลอว์ จัดงานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ที่กลายเป็นเครื่องของรัฐในการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. เพราะในจำนวนคดีความที่เกี่ยวกับมาตรา 116 ถูกใช้กับการแสดงออกในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ คสช. มากที่สุด
24 สิงหาคม 2560 เวลา 9.30-12.00 น. มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล แผนงานสุขภาวะผู้หญิง สมาคมเพศวิถีศึกษา และมูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง จัดงานเสวนา เรื่อง 'คุกคามทางเพศไม่ใช่เรื่องส่วนตัว: รัฐกับการคุ้มครองผู้เสียหายและอำนวยความยุติธรรม' ที่ห้องเบญรัตน์ โรงแรมเอบีน่า เฮาส์ โดยมีตัวแทนทั้งจากภาครัฐ ภาคประชาสังคม และผู้เสียหายร่วมพูดคุยในประเด็นดังกล่าว ทั้งหมด 5 คน
เมื่อสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) เสนอให้เพิ่มวิชาจำพวกศาสนา,คุณธรรม,จริยธรรม และหน้าที่พลเมืองใน 2 คาบท้ายของการเรียนทุกวัน เพื่อมุ่งเน้นให้เด็กเป็นคนดีขึ้นมา เราจึงอยากไปคุยกับนักปรัชญาอย่าง รศ. เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์ ภาคปรัชญาฯ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่า ข้อเสนอดังกล่าวเวิร์คจริงหรือไม่
การดำเนินงานปกป้องและติดตามสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนถือว่ามีความล้มเหลว ขัดกับหลักการปารีส และ ร่าง พ.ร.ป. กสม. ฉบับใหม่ เสี่ยงทำให้ กสม. ไทยถูกลดระดับสถานกาพสถาบันสิทธิมนุษชนแห่งชาติเหลือเพียงระดับ C ภาคประชาสังคมเสนอแนะให้มีการเลือกตั้งให้เร็วก่อนที่จะเซ็ทซีโร่ กสม.
23 กรกฎาคม 2560 เวลา 9.00 -16.00 น. ที่เวทีสตรีนิยม มีการนำเสนอผลงานนักศึกษาภาคฤดูร้อน ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุม ประกอบ หุตสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลากหลายเรื่องราว หนึ่งในเรื่องที่น่าสนใจคือเรื่อง "ประสบการณ์ตรงความรุนแรงทางเพศที่พริตตี้อย่างดิฉันเผชิญมา"
เเนวคิดปฏิรูปด้านการเมืองของ สปท. เช่น ด้านผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ด้านการเลือกตั้ง ด้านวัฒนธรรมทางการเมืองและด้านพรรคการเมืองจะใช้พิมพ์เขียวเดียวปฏิรูปทุกพรรค อาจกล่าวว่า “same same but different” คือ ข้อเสนอต่างๆ จะออกเดิมๆ วิธีคิดก็เดิมๆ ทางแก้ก็เดิมๆ คนร่างก็หน้าเดิมๆ
สปท. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม ขึ้นเป็นศาลชำนัญพิเศษในศาลยุติธรรม “เพื่อพัฒนานิติรัฐและประชาธิปไตยด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้การแก้ไขปัญหาคดีสิ่งแวดล้อมเบ็ดเสร็จในศาลเดียว โดยข้อเสนอข้างต้น มีปัญหาสำคัญอย่างน้อยสี่ประการ
ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน