Hot Issues

Varaporn Chamsanit
จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’  แต่ เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย
NLA seminar
เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพรบ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้านกมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ "ข้อมูลเท็จ" 
Event talk
หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ 
ว่ากันว่า เด็กคืออนาคตของชาติ เพราะเด็กฉลาด ชาติ (จะ) เจริญ แต่ความเจริญที่ว่าจะไปในทิศทางไหน ก็ขึ้นอยู่กับบริบทแวดล้อมที่หล่อหลอมความคิดความอ่านของเด็กขึ่นมา เพราะสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หากแต่มีกลไกอำนาจบางอย่างคอยกำกับอยู่ เสมอ ไม่ว่าจะในรูปของนโยบาย กฎหมาย หรือแม้แต่รัฐธรรมนูญ
Amnesty Int. on CCA Bill
แอมเนสตี้พบเนื้อหาเดิมที่มีปัญหาของมาตรา 14(1) ในร่างแก้ไข พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์กลับมาแล้ว หลังถูกแก้ไขให้ดีขึ้นในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมชวนประชาชนจับตาเส้นตายผ่าน พ.ร.บ. สิ้นเดือนพฤศจิกายนนี้
โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่า แนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
stop rape
เมื่อมีข่าวคดีข่มขืนสะเทือนขวัญ ดีเบตเรื่อง ข่มขืน=ประหารชีวิต ก็จะดังกลับขึ้นมาในสังคมเป็นระยะๆ ฝ่ายหนึ่งมองผ่านมุมของเหยื่อ ฝ่ายหนึ่งมองผ่านมุมของผู้ต้องหาและสิทธิมนุษยชน ข้อสรุปเหตุผลพื้นฐานของแต่ละฝ่ายอาจช่วยให้เข้าใจข้อถกเถียงที่ยังดำเนินต่อไปอย่างไม่มีจุดจบนี้มากขึ้น 
รัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด ที่เพิ่งผ่านการลงประชามติเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2559  มีประเด็นเกี่ยวกับ “สิทธิพลเมืองว่าด้วยเรื่องข้อมูล” ที่ต้องใส่ใจให้ความสำคัญ แต่ดูเหมือนจะยังไม่มีใครกล่าวถึงกันมากนัก
protest against mining
รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช.หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน  การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้  เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน  โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย