วันที่ 1 ก.ย. 2560 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ รับหลักการร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ โดยจะมีการนำรัฐวิสาหกิจเข้ามาอยู่รวมกันภายใต้บรรษัทวิสาหกิจ ซึ่งจะมีรัฐวิสาหกิจจำนวน 11 แห่ง รวมทั้งมีการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ
กฎหมาย ป.ป.ช. ใหม่เริ่มใช้บังคับแล้ว วางโครงสร้างใหม่แทนกฎหมายเดิมทั้งหมด โดยให้ ป.ป.ช. มีอำนาจใหม่เพิ่มเติมในการวินิจฉัย ผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมอย่างร้ายแรง การที่ ส.ส. ส.ว. ออกกฎหมายให้ตัวเองใช้งบประมาณ และที่สำคัญ คือ ผู้ที่ไม่ทำตามยุทธศาสตร์ชาติ
กฎหมาย ป.ป.ช. ใหม่เริ่มใช้บังคับแล้ว วางโครงสร้างใหม่แทนกฎหมายเดิมทั้งหมด โดยเน้นเรื่องการป้องกันการทุจริตด้วย กำหนดช่องทางการคุ้มครองผู้ชี้เบาะแส การให้รางวัลผู้เปิดโปง และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านทุจริต
กฎหมาย ป.ป.ช. ใหม่เริ่มใช้บังคับแล้ว วางโครงสร้างใหม่แทนกฎหมายเดิมทั้งหมด หวังเพิ่มประสิทธิภาพการเอาคนทุจริตมาคติดคุก โดยเพิ่มอำนาจแสวงหาข้อเท็จจริงให้ ป.ป.ช. ลดภาระงาน ให้ ป.ป.ช. ทำแต่คดีใหญ่ และกำหนดเวลาบีบให้ ป.ป.ช. ต้องสั่งคดีภายในสองปี
กฎหมาย ป.ป.ช. ใหม่เริ่มใช้บังคับแล้ว วางโครงสร้างการปราบทุจริตแทนกฎหมายเดิมทั้งหมด เพิ่มอำนาจใหม่ที่อาจมีผลเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ออกแบบการคัดสรรทั้งกรรมการและเจ้าหน้าที่ให้เป็นทีมงานคุณสมบัติสูง โปร่งใสถูกตรวจสอบได้ เปรียบดัง “เทวดา”
การยื่นถอดถอน ชำนาญ รวิวรรณพงษ์ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” ทำให้สังคมได้รู้จักชื่อของ "คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม" หรือ ก.ต. มากขึ้น ก.ต. เป็นหนึ่งในสามองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บริหารงานของศาลยุติธรรม และ สนช. กำลังพิจารณาแก้ไขที่มาของ ก.ต. ซึ่งจะทำให้ผู้พิพากษาเป็นผู้เลือกเองทั้งหมด
ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร เป็นกฎหมายที่กำลังจัดทำเพื่อนำไปสู่การเลือกตั้งท้องถิ่น ร่าง พ.ร.บ.ฉบับดังกล่าวเป็นที่จับตามองภายหลังมีข้อเสนอยุบสภาเขตกรุงเทพฯ (ส.ข.) สภาที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งมีความกังวลว่าจะสวนทางกับการกระจายอำนาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มให้กับประชาชน
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 แก้ไขใหม่เพื่อป้องกันการนำ พ.ร.บ.คอมฯ มาใช้ฟ้องหมิ่นประมาทกับประชาชน แต่ยังถูกนำมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนเหมือนเดิม โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาล
ร่าง พ.ร.บ.สภาพัฒน์ เป็นร่างที่พัฒนาต่อยอดมาจาก ร่าง พ.ร.บ.พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ผ่านความเห็นชอบจาก ครม. ตั้งแต่ 16 มกราคม 2561 ก่อนจะแก้ไขเพิ่มเติมและ “กลายร่าง” มาเป็นร่าง พ.ร.บ.สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สมาชิก สนช.36 คน ขอเข้าชื่อเสนอแก้ไข พ.ร.ป.ว่าด้วย กกต. ประเด็น “ผู้ตรวจการเลือกตั้ง” ขณะนี้อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ สนช. การเสนอแก้ไขครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจาก กกต. ชุดปัจจุบัน ประกาศรายชื่อผู้ตรวจการฯ 616 คน ซึ่งหาก สนช. แก้ไขสำเร็จจะมีผลให้ผู้ตรวจการฯ ชุดแรกต้องสิ้นสุดการทำหน้าที่ลง