"การตบ" เป็นการกระทำแบบหนึ่งที่เราอาจจะพบเห็นได้ในหนัง ละคร หรือแม้แต่ชีวิตจริง แต่ทว่า ยังมีการตบบางประเภทที่รุนแรงกว่าการทำร้ายเนื้อตัวร่างกายและอาจจะต้องใช้สายตาสังเกตให้ลึกกว่าปกติ นั้นก็คือ สแลป(SLAPP) หรือการตบปากด้วยกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ
iLaw collects information during the whole process of referndum and found at least 10 reasons that shows the 7 August referendum is not fair and any government cannot use the result of the referendum as demonstrating their legitimacy.
เสียงส่วนใหญ่ของผู้มาใช้สิทธิลงประชามติ เมื่อ 7 สิงหาคม 2559 เห็นชอบทั้งร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง ซึ่งต้องเคารพทุกเสียงที่มาลงคะแนน แต่ข้อมูลชี้ให้เห็นปัญหา 10 ข้อ ตลอดการทำประชามติ ทำให้ทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ไม่อาจใช้อ้างเป็นความชอบธรรมให้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ และการบังคับใช้หลังจากนี้ได้
แม้ว่ากกต.จะมีแนวทางการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบแต่จากการรวบรวมข้อมูลยังพบข้อบกพร่องบางประการที่ส่งผลให้ประชาชนจำนวนมากต้องตกขบวนรถไฟประชามติครั้งนี้
ก่อนลงประชามติ กรธ. และกกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
บรรยากาศการลงประชามติครั้งที่สองของไทยเป็นไปอย่างน่ากังวลเพราะการแสดงความเห็นต่างหรือวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญเป็นไปอย่างลำบาก มีรายงานระบุว่า มีผู้ออกมาแสดงความเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ ถูกตั้งข้อหาอย่างน้อย 95 คน ทำให้มีเครื่องหมายคำถามว่า ประชามติครั้งนี้ "Free" และ "Fair" จริงหรือเปล่า
ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนือหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของกรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ
ไอลอว์เก็บรวบรวมข่าว เกี่ยวกับการจับกุมดำเนินคดี และการใช้กับการฉีกบัตรลงคะแนน ทั้งเจตนา และเข้าใจผิด ในวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ซึ่งเป็นวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ และคำถามพ่วง
เมื่อร่างรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ ก็เปรียบเสมือนการ "เซ็นเช็คเปล่า" ให้กับรัฐบาล คสช. และ กรธ. เพื่อเขียนกฎกติกาต่างๆ ที่ต้องใช้ประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างเช่น กฎหมายพรรคการเมือง ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายการปฏิรูป ฯลฯ ดังนั้น ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจตัวจริงควรต้องจับตาและมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ให้ได้มากที่สุด
ก่อนการลงประชามติ ร่างรัฐธรรมนูญ มีวาทะกรรมที่หลายคนเชื่อกันว่า "เมื่อนักการเมืองประกาศไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ" แสดงว่าร่างนี้ต้องดีแน่ ประชาชนต้องไปลงคะแนน "รับ" แต่จริงๆ ไม่ใช่มีแค่นักการเมืองที่ "ไม่รับ" มีผู้คนและองค์กรอีกมากมายเลย