Articles

ภายหลัง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนน 135 เสียง หากวิเคราะห์ทิศทางการลงมติจะพบว่า กลุ่มอาชีพข้าราชการพลเรือน-ทหาร-ตำรวจ เป็นส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นชอบ และกลุ่มเอ็นจีโอส่วนใหญ่สนับสนุน แต่หากแบ่งตามที่มาจะพบว่า สปช.จังหวัด จำนวนมากไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
Likit Teeravekin
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคมร่วมกับหลายองค์กร จัดงานเสวนา "วิเคราะห์ร่างรัฐธรรมนูญ  2558 กับทิศทางการปฏิรูปการเมืองไทย: ทางออกหรือทางตัน" ท่ามกลางบรรยากาศที่สปช.กำลังจะลงมติว่าจะเห็นชอบกับร่างนี้หรือไม่ในวันที่ 6 กันยายน 2558 
post-coup constitution
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?
หากให้นับจำนวนการพิจารณากฎหมายของสภานิติบัญญัติในอดีต จะพบว่า รัฐบาลประยุทธ์เป็นแค่เบอร์สอง แพ้รัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน ที่มีการผ่านกฎหมายมากที่สุด (189 ฉบับ) ส่วนยุคที่ไม่มีการผ่านกฎหมายเลย คือสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
Chairman of the National Reform Council (NRC)
เทียนฉาย กีระนันท์ ประธาน สปช. กล่าวถึงการทำงานตลอด 1 ปีที่ผ่านมาของ สปช. และยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง สปช. กับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญว่ามีความลึกซึ้ง ยากจะอธิบาย เผย "เรื่องคานงัด" ที่ต้องปฏิรูปใหญ่มี 2 เรื่อง คือ การบริหารราชการแผ่นดินและการศึกษา
online media
เสนอผลวิจัยแนวทางการส่งเสริมจริยธรรมจรรยาบรรณ และการกำกับกิจการสื่อใหม่ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี พร้อมประสบการณ์มุมมองจากต่างประเทศ หลายฝ่ายเห็นตรงกันรัฐควรกำกับให้น้อย ต้องส่งเสริมให้สื่อมีความสามารถกำกับดูแลกันเอง
constitutional court
ศาลรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ต่อเนื่องเรื่อยมาในรัฐธรรมนูญ 2550 บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญโดดเด่นขึ้นมาจากการตัดสินคดีสำคัญๆ ที่มีผลเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่งผลต่อความเป็นไปของประเทศไทย ซึงร่างรัฐธรรมนูญ 2558 ศาลรัฐธรรมนูญก็ยังคงอำนาจนำต่อไป 
Prayut
คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกประกาศฉบับที่ 115/2557 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีความอาญา ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่สำหรับกระบวนการยุติธรรมไทย เพราะมีการแก้ไขอำนาจของผู้ที่จะสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีในต่างจังหวัดจากผู้ว่าฯ เป็น ผู้บัญชาการภาคหรือรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 
Citizen Rights
ร่างรัฐธรรมนูญ 2558 หมวดที่ 2 ประชาชน กำหนดความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง สิทธิการมีส่วนร่วมทางการเมือง และการตรวจสอบการใช้อำนาจ พร้อมแบ่งแยก "สิทธิมนุษยชน" กับ "สิทธิพลเมือง" ออกจากกัน ทำให้คนที่ไม่มีสัญชาติไทยจะไม่ได้รับสิทธิบางประการ 
parliament
รัฐธรรมนูญฉบับ 'คสช.' ได้กำหนดรูปแบบกระบวนการพิจารณาออกกฎหมายใหม่ จากเดิมที่ให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้พิจารณากฎหมายและวุฒิสภามีหน้าที่กลั่นกรองตรวจสอบ กลายเป็นให้อำนาจพิจารณากฎหมายบางประเภทกับวุฒิสภา ซึ่งมาจากการสรรหา และการเลือกตั้งผู้ที่กลั่นกรองแล้ว นอกจากนี้ยังมีแนวทางใหม่สำหรับกฎหมายที่ถูกเสนอโดยประชาชน ว่าอาจจะมีการลง 'ประชามติ'