รัฐธรรมนูญของเยอรมันใช้มากว่า 60 ปี ในตอนแรกมีความตั้งใจว่าจะใช้เป็นฉบับชั่วคราว และถูกออกแบบมาโดยระมัดระวังไม่ให้เป็นฉบับถาวร คือประชาชนมีสิทธิยกเลิกได้อย่างเสรี แต่เนื่องจากฟังก์ชั่นต่างๆ ในรัฐธรรมนูญใช้ได้ดีจึงยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน
เสียงเรียกร้องให้มีการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มาจากหลายทิศทาง กระทั่งวงในของอำนาจก็สนับสนุนให้มีการทำประชามติแม้หลายฝ่ายจะสนับสนุนให้มีการทำประชามติ แต่ก็มีข้อเสนอที่แตกต่างเกี่ยวกับ ‘รูปแบบ’ หรือ ‘สูตร’ ในการทำประชาติว่าจะออกมาเป็นอย่างไร?
ดูประเด็นการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนในร่างรัฐธรรมนูญ 2558 สิ่งที่เหมือนเดิมคือประชาชน 10,000 คนเสนอกฎหมายได้ สิ่งที่เปลี่ยนไป คือ บังคับรัฐสภาต้องพิจารณาใน 180 วัน และหากไม่ผ่านก็อาจเอากฎหมายไปลงประชามติ กับปัญหาต่างๆ ที่ยังไม่ได้แก้ไข
มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ถูกเปรียบเหมือนอำนาจเผด็จการล้นฟ้า หัวหน้าคสช.ใช้อำนาจตามมาตรา 44 แก้ไขปัญหาและโยกย้ายข้าราชการต่างๆ มากมาย ทั้งเรื่องประมงผิดกฎหมาย สลากกินแบ่งรัฐบาล การสรรหาป.ป.ช. แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าว และกระทรวงศึกษาธิการ
รวมประเด็นที่น่าสนใจรายวัน เกี่ยวกับการอภิปรายร่างรัฐธรรมนูญของ สปช. ระหว่างวันที่ 20-26 เมษายน 2558
ในยามปกติ ศาลทหารมีการพิจารณา 3 ชั้น เช่นเดียวกับศาลยุติธรรม แต่เมื่อมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก ศาลทหารจะเปลี่ยนเป็น "ศาลทหารในภาวะไม่ปกติ" ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าทำความผิดในระหว่างที่มีการประกาศกฎอัยการศึกจะไม่มีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกา
การซ้อมทรมานยังเป็นเรื่องที่เต็มไปด้วยข้อถกเถียงถึงความคุ้มค่าและปัญหาด้านจริยธรรม ดังนั้นเพื่อร่วมกันหาทางออก ไอลอว์ จึงขอหยิบยกเหตุผลของผู้ที่เห็นความจำเป็นในการซ้อมทรมานและเหตุผลที่ต้องคัดค้านเพื่อให้ทุกคนทบทวนอีกครั้งว่า “เรายัง ‘รับได้’ กับการซ้อมทรมานหรือเปล่า”
ไอลอว์ สรุปสาระสำคัญของคำสั่งหัวหน้า คสช. ซึ่งแบ่งได้ 4 หมวด อันประกอบด้วย “อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน” “อัตราโทษ” “ความรับผิดของเจ้าหน้าที่” และ “ประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ” เพื่อเทียบเคียงว่า เหมือน/ต่าง กับกฎหมายความมั่นคงอื่นอย่างไร
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ของ คสช. ใกล้จะเสร็จสินในช่วงกลางปี 2558 ขณะเดียวกันตั้งแต่ต้นปีนี้เอง เสียงเรียกร้องให้มีการทำประชามติจากหลายฝ่ายก็ดังมากขึ้น ลองดูใครคิดอย่างไรเกี่ยวกับประชามติรัฐธรรมนูญบ้าง ?
การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่บ้านนามูล-ดูนสาด เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปว่ามีการต่อต้านจากชาวบ้าน มีทหารเข้ามาในพื้นที่ มีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ เราชวนรู้จักกับพื้นที่แห่งนี้ว่าพวกเขากังวลอะไรกับผลกระทบหากมีการขุดเจาะปิโตรเลียม