22 พฤษภาคม 2565 เป็นวันที่ผู้มีทะเบียนบ้านในกรุงเทพมหานคร จะได้ใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งผู้ว่าฯ คนใหม่ หลังจากห่างหายจากการเลือกตั้งไปถึงแปดปี ก่อนจะถึงการเลือกตั้งผู้ว่าฯ ชวนย้อนดูรายได้ของกรุงเทพมหานคร และเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้แก่กรุงเทพมหานคร
1 เมษายน 2565 เวลา 10.00 น. คณะก้าวหน้าจัดเวที “ผ่าทางตัน 130 ปี รัฐราชการรวมศูนย์” โดยเป็นส่วนหนึ่งของการเริ่มแคมเปญล่ารายชื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ “คนละชื่อ ปลดล็อคท้องถิ่น” ที่อาคารอนาคตใหม่
27 มีนาคม 2565 เวลา 17.00 น. เครือข่ายภาคประชาสังคมนำโดย Protection international และกลุ่มดินสอสี จัดกิจกรรม Women : Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรมที่ไม่สิ้นสุด
ตลอดสองปีของการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อรับมือโรคระบาด เป็นทางเลือกที่ถูกต้องจริงหรือไม่ มาร่วมหาคำตอบไปกับ นายแพทย์นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ อดีตคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่สอง และอดีตคณบดีวิทยาลัยการแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อำนาจพิเศษเป็นสิ่งที่หลายประเทศเลือกใช้เมื่อต้องเจอกับโรคระบาดเพื่อให้ฝ่ายบริหารมีอำนาจมากขึ้นในการออกมาตรการ แต่เมื่อเทียบไทยกับต่างประเทศ ต่างประเทศยังคงเปิดช่องทางให้รัฐสภาและตุลาการทางปกครองเข้ามาถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารได้ ซึ่งจะช่วยรับรองว่า อำนาจพิเศษที่ออกมาเพื่อควบคุมสถานการณ์โควิดจะไม่ถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด
ภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศใช้เคอร์ฟิวสองรอบ จังหวัดที่อยู่ใต้เคอร์ฟิวนานที่สุด ไมสามารถออกจากบ้านตอนกลางคืนได้นานถึง 234 วัน เมื่อตัดสินใจจะผ่อนคลายก็ค่อยๆ ปรับเวลา และเปิดทีละนิดๆ
ในช่วงระยะเวลาประมาณสองปีนับตั้งแต่มีการประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประชาชนยื่นฟ้องคดีต่อศาลเพื่อขอให้ยกเลิกบรรดาข้อกำหนดที่ออกตามอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯไปแล้วรวมอย่างน้อย 5 คดี ได้แก่ ฟ้องศาลแพ่งให้เพิกถอนข้อกำหนดเรื่องห้ามชุมนุม 3 คดี เรื่องตัดอินเทอร์เน็ต1 คดี และยื่นคำร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มีเนื้อหาขัดต่อรัฐธรรมนูญ 1 คดี
กิจกรรมเสวนาในหัวข้อ "อยากจะม็อบ ขาดพร็อพได้ไง" ภายในงานนิทรรศการของพิพิธภัณฑ์สามัญชน (Museum of Popular History) โดยผู้ร่วมสนทนาประกอบไปด้วย Phar iLaw แอดมินเพจ PrachathipaType และเอเลียร์ ฟอฟิ จากกลุ่มศิลปะปลดแอก ดำเนินรายการโดย อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์สามัญชน
นอกจากข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่อ้างควบคุมโรคโควิด 12 ฉบับแล้ว พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด แก้ปัญหาด้านความมั่นคงโดยออกคำสั่งควบคุมการชุมนุมมาอีกรวม 15 ฉบับ ซึ่งเนื้อหาทับซ้อนกัน แก้ไขและยกเลิกฉบับก่อนหน้าจนสร้างความสับสน และเพิ่มเครื่องมือให้ตำรวจสั่งห้ามการชุมนุมได้หลากหลายขึ้น
คุยกับ 'ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ' ถึง ความลักลั่นของการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโรค แต่ไม่ยอมผ่อนปรนกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างกว้างขว้าง อย่าง พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และทบทวนถึงทางเลือกใหม่ที่อาจจะเหมาะสมต่อการควบคุมโรค โดยคำนึงถึงความปลอดภัยทางสาธารณสุขและสิทธิเสรีภาพของประชาชนไปพร้อมกัน