Articles

curfew in france
ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
91% favor repealing Section 112
ตั้งแต่วันที่ 20-22 ตุลาคม 2564 ไอลอว์เปิดแบบสอบถามออนไลน์ให้ประชาชนร่วมแสดงทัศนคติต่อประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือ “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์” ที่ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน โดยมีผู้เข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็นอย่างมากมายเกินคาด
Order 41 2519
คณะรัฐประหารยึดอำนาจในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 และออกคำสั่งเปลี่ยนแปลงกฎหมายมากมาย หนึ่งในนั้นได้แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพิ่มโทษ 12 มาตราที่เกี่ยวกับการ "หมิ่น" เป็นมรดกตกทอดไว้ในกฎหมายไทย เป็นอุปสรรคต่อเสรีภาพการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์รัฐและสังคมต่อเนื่องมาทุกยุคสมัย
referendum in Italy and Chile
ในประวัติศาสตร์โลกที่ผ่านมา มีการจัดประชามติหลากหลายครั้งที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการเมืองขนานใหญ่ กรณีของอิตาลีในปี 2489 และชิลีในปี 2563 แสดงให้เห็นถึงแรงกดดันจากประชาชนที่สั่นสะเทือนทำให้แม้แต่สถาบันกษัตริย์หรือรัฐธรรมนูญของเผด็จการก็ต้องล้มหายไป
Royal Veto on Bill and Constitutional Amendment
หลังจากร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา เมื่อ 10 กันยายน 2564 เป็นครั้งแรกที่รัฐธรรมนูญ 2560 แก้ไขสำเร็จ นายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ แล้วเมื่อ 4 ตุลาคม 2564 มีประเด็นต่อมาว่าพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจในการยับยั้ง (Veto) ร่าง #แก้รัฐธรรมนูญ หรือไม่ 
Military Party
บทเรียนทางประวัติศาสตร์ พบว่าคณะรัฐประหารไทยพยายามสร้างพรรคทหารขึ้นเพื่อสืบทอดอำนาจผ่านการเลือกตั้งเรื่อยมาหลายยุคสมัยแล้ว ซึ่งพรรคทหารแต่ละยุคก็มีรูปแบบและให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน
The Sangha Supreme Council of Thailand
จากกรณี "ปลดสามเจ้าคณะจังหวัด" และ "กฎมหาเถรสมาคมห้ามสงฆ์เรียนอย่างคฤหัสถ์" ที่เกิดไล่เลี่ยกัน มีจุดร่วม คือ องค์กรผู้ใช้อำนาจเป็น “มหาเถรสมาคม” องค์กรปกครองฝ่ายสงฆ์ในไทย ที่มีอำนาจจัดระเบียบคณะสงฆ์ ปลดเจ้าคณะจังหวัด รวมไปถึงการออกคำสั่งเพื่อให้คณะสงฆ์ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน 
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา วางกรอบไว้ว่า การที่เจ้าหน้าที่ตำรวจจะเข้าตรวจค้นบ้าน หรือ รถ จะกระทำได้ต่อเมื่อมีหมายหรือคำสั่งจากศาล และถ้าจะทำการตรวจค้นโดยไม่มีหมายศาลก็ต้องเป็นกรณีที่เข้าตามข้อยกเว้น เช่น มีเหตุร้าย มีการกระทำความผิดซึ่งหน้า หรือมีหลักฐานอย่างแน่นแฟ้นว่ามีผู้ร้ายเข้าไปหลบหนี นอกจากนี้ การจะเข้าตรวจค้นบ้านคนยามวิกาล หรือ เวลากลางคืนจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่มีเหตุร้าย หรือ มีเหตุฉุกเฉิน เช่น ผู้กระทำความผิดจะหลบหนี เป็นต้น
Announcement of the Commander
นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ และยังแต่งตั้งให้พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนนที่เกี่ยวกับความมั่นคง พล.อ.เฉลิมพลก็ได้ออกประกาศหัวหน้าผู้รับชอบฯเรื่อง ห้ามการชุมชุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) รวมแล้ว 11 ฉบับ กลายเป็นกฎหมายหลักที่ถูกนำมาใช้สั่ง "ห้ามชุมนุม" และดำเนินคดีผู้ชุมนุมตามหลัง
The Civil Court made an appointment to hear the order on October 8, protecting t
ศาลนัดฟังคำสั่งในวันที่ 8 ต.ค.64 กรณีไต่สวนฉุกเฉินเพื่อขอคุ้มครองชั่วคราวหลังจากตัวแทนประชาชนได้ยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งเพื่อขอให้เพิกถอนข้อกำหนดที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 15 และประกาศหัวหน้าผู้รับผิดชอบที่สั่ง "ห้ามการชุมนุม"